Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8779
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปรีชา วิหคโคยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพัตรา ถนอมรัตน์, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-11T03:22:41Z-
dc.date.available2023-08-11T03:22:41Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8779-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้กิจกรรมกลุ่ม เพื่อเสริมสร้างวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เปรียบเทียบวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ก่อนและหลังการใช้ ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้กิจกรรมกลุ่ม และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรม แนะแนว โดยกิจกรรมกลุ่มเพื่อเสริมสร้างวุฒิ ภาวะทางอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ ที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูง ปานกลาง ต่ำ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้คือชุดกิจกรรมแนะแนว ซึ่งประกอบด้วย กิจกรรมกลุ่ม 14 กิจกรรม แบบทดสอบวุฒิภาวะทางอาชีพโดยมีค่าความเที่ยงอยู่ที่ .78 และ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนต่อชุดกิจกรรมแนะแนว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อเสริมสร้างวุฒิภาวะ ทางอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ 83.95/89.17 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 (2) หลังจากการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อเสริมสร้างวุฒิภาวะทางอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แล้ว นักเรียนมีวุฒิภาวะทางอาชีพเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ ระดบั .05 และ (3) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนว โดย ใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อเสริมสร้างวุฒิภาวะทางอาชีพ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับความเหมาะสมมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.93en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนวอาชีพ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการแนะแนว -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleผลการพัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อเสริมสร้างวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ จังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffects of development of an activity package based on group activities to enhance Vocational maturity of Mathayom Suksa III students of Benjamanusorn School, Chanthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a guidance activity package based on group activities to enhance vocational maturity of Mathayom Suksa III students that meets the 80/80 efficiency criterion; (2) to compare the vocational maturity scores of students before and after using the guidance activity package based on group activities; and (3) to study opinions of the students toward the guidance activity package based on group activities to enhance vocational maturity of Mathayom Suksa III students. The research sample consisted of 30 Mathayom Suksa III students with high, average, and low levels of learning achievement. The employed research instruments were a guidance activity Package consisting of 14 group activities, a vocational maturity test with .78 reliability coefficient, and a questionnaire on student ,s opinion toward the guidance activity package. Statistics for data analysis were the E1 /E2 efficiency index, percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the developed guidance activity package based on group activities to enhance vocational maturity of Mathayom Suksa III students was efficient at 83.95/89.17 which was higher than the 80/80 efficiency criterion; (2) after using the guidance activity package based on group activities to enhance vocational maturity of mathayom Suksa III student, the student “vocational naturity scores significantly increased at the .05 level; and (3) the rating mean of opinions of Mathayom Suksa III student, toward the guidance activity package was at the highest appropriate level (rating mean = 4.80)en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146079.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons