Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8799
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร | th_TH |
dc.contributor.author | สมบูรณ์ ยาวิชัย, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-11T07:14:19Z | - |
dc.date.available | 2023-08-11T07:14:19Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8799 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กบนพื้นที่สูงตามความคิดเห็นของผู้นำชุมชน ครู และผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นระหว่างผู้นำชุมชน ครูและผู้บริหารสถานศึกษาต่อสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กบนพื้นที่สูง ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา 65 คน ครู 65 คน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 และ ผู้นำชุมชน 65 คน รวมทั้งสิ้น 195 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม แบบมาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .80 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กบนพื้นที่สูงในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 ในภาพรวม อยู่ในระดับมากเรียงตามสมรรถนะดังนี้ สมรรถนะส่วนบุคคลที่จำเป็นสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กบนพื้นที่สูง สมรรถนะประจำสายงาน และสมรรถนะหลัก และ (2) ผู้นำชุมชน ครู และผู้บริหารสถานศึกษามีความเห็นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เกี่ยวกับสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กบนพื้นที่สูง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.96 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน--ไทย--แม่ฮ่องสอน | th_TH |
dc.subject | สมรรถภาพในการทำงาน | th_TH |
dc.title | สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กบนพื้นที่สูงสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Essential competencies for administrators of Small highland Schools under Mae Hong Son Primary Education Service Area Office 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to study essential competencies for administrators of small highland schools as perceived by community leaders, teachers and administrators of schools under Mae Hong Son Primary Education Service Area Office 1; and (2) to compare opinions of community leaders, teachers, and school administrators toward essential competencies for administrators of small highland schools under Mae Hong Son Primary Education Service Area Office 1. The research sample totaling 195 persons consisted of 65 community leaders, 65 teachers, and 65 administrators of schools under Mae Hong Son Primary Education Service Area Office 1, all of which were obtained by simple random sampling. The employed instrument was a rating scale questionnaire with .80 reliability coefficient. Statistics for data analysis included the percentage, mean, standard deviation, and one-way ANOVA. The research findings showed that (1) the overall essential competencies required for administrators of small highland schools under Mae Hong son Primary Education Service Area Office 1 were rated at the high level and could be ranked based on rating means as follows: the personal competencies required for administrators of small highland school, the job-based competencies, and the main competencies, respectively; and (2) community leaders, teachers, and school administrators did not significantly differ, at the .05 level, in their opinions concerning essential competencies for administrators of small highland schools. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุทธิวรรณ ตันติรจนำวงศ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
146199.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License