Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8832
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสารีพันธุ์ ศุภวรรณth_TH
dc.contributor.authorมะลิวัลย์ หนกหลัง, 2494-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-15T01:17:43Z-
dc.date.available2023-08-15T01:17:43Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8832en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การศึกษานอกระบบ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) สร้างกิจกรรมนันทนาการ เรื่องผลิตภัณฑ์จากต้นจาก สำหรับวัยรุ่นตอนต้น ชุมชนเกาะหยงสตาร์ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง (2) ศึกษาผลการใช้กิจกรรมนันทนาการ เรื่องผลิตภัณฑ์จากต้นจาก ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของวัยรุ่นตอนต้น ชุมชนเกาะหยงสตาร์ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง และ (3) ศึกษาความพึงพอใจต่อกิจกรรมนันทนาการ เรื่องผลิตภัณฑ์จากต้นจาก ของวัยรุ่นตอนต้น ชุมชนเกาะหยงสตาร์ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ วัยรุ่นตอนต้นที่มีอายุระหว่าง 10-13 ปี จำนวน 40 คน ในชุมชนเกาะหยงสตาร์ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดกิจกรรมนันทนาการ 5 ประเภท ประกอบด้วย กิจกรรมท่องเที่ยว/ทัศนศึกษา กิจกรรมวรรณกรรม กิจกรรมศิลปหัตถกรรม กิจกรรมอาสาสมัคร และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ (3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมนันทนาการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แผนกิจกรรมนันทนาการ เรื่องผลิตภัณฑ์จากต้นจาก ประกอบด้วย ชื่อกิจกรรม สาระสรุป เนื้อหาสาระ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการดำเนินกิจกรรม สื่อ การประเมินผล และเวลา (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของวัยรุ่นตอนต้นในกลุ่มตัวอย่างหลังการจัดกิจกรรมสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) วัยรุ่นตอนต้นในกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจภาพรวมต่อกิจกรรมนันทนาการในระดับดีมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.194en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนันทนาการth_TH
dc.subjectวัยรุ่น--นันทนาการth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.titleผลของกิจกรรมนันทนาการเรื่องผลิตภัณฑ์จากต้นจากที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของวัยรุ่นตอนต้น ชุมชนเกาะหยงสตาร์ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรังth_TH
dc.title.alternativeEffects of recreational activities entitled Nipa Palm products on learning achievement of early adolescent in Koh Yong-star Community, Palian District, Trang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to create recreational activities entitled Nipa Palm Products for early adolescents in Koh Yong-star community, Palian district, Trang province; (2) to investigate the effects of recreational activities entitled Nipa Palm Products on learning achievement of early adolescents in Koh Yong-star community, Palian district, Trang province; and (3) to assess the satisfaction with recreational activities entitled Nipa Palm Products of early adolescents in Koh Yong-star community, Palian district, Trang province. The research sample consisted of 40 randomly selected early adolescents, aged 10 – 13 years, in Koh Yong-star community, Palian district, Trang province. The employed research instruments were (1) plans for organizing recreational activities entitled Nipa Palm Products comprising five types of activities, namely, study tour activity, literature search activity, arts and crafts activity, volunteer activity, and group relationship activity; (2) a learning achievement test; and (3) a satisfactory with recreational activities assessment scale. Data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the created plans for organizing recreational activities entitled Nipa Palm Products were composed of the activity names, concepts, contents, learning objectives, conducting the activities, media, evaluation, and time; (2) after undertaking the activities, the post-learning achievement of early adolescents in the sample was higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level of statistical significance; and (3) the overall satisfaction with recreational activities of early adolescents in the sample was at the highest level.en_US
dc.contributor.coadvisorชนกนารถ บุญวัฒนะกุลth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147181.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons