Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8883
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสังวรณ์ งัดกระโทก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนลินี ณ นคร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคณิตตา บุญแน่น, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T01:25:45Z-
dc.date.available2023-08-16T01:25:45Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8883-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความตรงของการให้คะแนนระหว่างภาควิชาคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (2) เปรียบเทียบความตรงของการให้คะแนนระหว่างภาควิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำแนกตามรูปแบบการให้คะแนนระหว่างภาค 4 รูปแบบ และ (3) ศึกษาความเที่ยงของการให้คะแนนระหว่างภาค วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประชากรที่ใช้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และครูที่สอนวิชาคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จำนวน 61 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือครูจำนวน 24 คนและนักเรียนจำนวน 522 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสำรวจการให้คะแนนระหว่างภาค แบบบันทึกการให้คะแนนระหว่างภาค และ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิง ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การให้คะแนนระหว่างภาคของครูคณิตศาสตร์มีความตรงค่อนข้างต่ำ (ความสัมพันธ์ของคะแนนระหว่างภาคกับคะแนนสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เท่ากับ 0.20) (2) รูปแบบการให้คะแนนระหว่างภาครูปแบบที่ 2 โดยมีการให้คะแนนจิตพิสัย: คะแนนทดสอบย่อย: คะแนนกิจกรรม/ใบงาน: คะแนนสอบกลางภาคในสัดส่วน 10: 15: 30: 15 มีความตรงมากที่สุด และ (3) การให้คะแนนระหว่างภาคของครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์รูปแบบที่ 3 โดยมีการให้คะแนนทดสอบย่อย:คะแนนสอบกลางภาคในสัดส่วน 60: 10 มีความเที่ยงมากที่สุดโดยมีค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงสัมบูรณ์ เท่ากับ 0.14 นอกจากนี้ยังพบว่าคะแนนจิตพิสัยมีความผันแปรสูงที่สุด ซึ่งสะท้อนว่าเป็นแหล่งของความคลาดเคลื่อนในการวัดมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.87en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการให้คะแนน (นักเรียนและนักศึกษา)th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์th_TH
dc.titleความตรงและความเที่ยงของการให้คะแนนระหว่างภาคเรียนวิชาคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 3th_TH
dc.title.alternativeValidity and reliability of formative assessment scoring in Mathematics for Mathayom Suksa III students in education extension Schools under Chiang Mai Primary Education Service Area Office 3th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to (1) examine the validity of formative assessment scoring in mathematics at Mathayom Suksa III level; (2) compare the validity coefficients among four different mathematics formative assessment scoring methods used by teachers at Mathayom Suksa III level; and (3) examine the reliability of mathematics formative assessment scoring at Mathayom Suksa III level. The research population comprised all Mathayom Suksa III students and mathematics teachers in 61 education expansion schools under Chiang Mai Primary Education Service Area Office 3 during the second semester of the 2014 academic year. The research sample consisted of 24 teachers and 522 students in the schools, obtained by multi-stage sampling. The employed research instruments were a survey form on formative assessment scoring, a form for recording formative assessment scoring, and a mathematics learning achievement test. Data were analyzed using the Pearson’s correlation coefficient and the generalizability coefficient. The results of study showed that (1) the validity of mathematics teachers’ formative assessment scoring was rather low (the correlation between formative assessment scores and achievement test scores was 0.20); (2) the assessment scoring model 2, which included scores of affective domain, quizzes, activities/work sheets, and midterm examination in the proportion of 10: 15: 30: 15, was the most valid; and (3) the assessment scoring model 3 with the quizzes and midterm score in the proportion of 60 : 10 was the most reliable with G-Coefficient of 0.14; furthermore, it was found that the teachers’ affective domain scoring had the highest variation reflecting that it was the most significant source of measurement error in the teacher’s formative assessmenten_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147983.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons