Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8914
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเข็มทอง ศิริแสงเลิศth_TH
dc.contributor.authorสมจิต อินทร์แสง, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T07:12:03Z-
dc.date.available2023-08-16T07:12:03Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8914en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ (2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปรถมศึกษากาฬสินธุ์ จำนวน 226 โรงเรียน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ผู้ให้ข้อมูล คือรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการหรือหัวหน้าวิชาการโรงเรียนละ 1 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับภาวะผู้นำทางวิชาการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร รองลงมาคือ ด้านการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจ ด้านการสนับสนุนทรัพยากรการสอน และด้านการนิเทศการสอนตามลำดับ (2) สถานศึกษาที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงมี 137 แห่ง สถานศึกษาที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ามี 89 แห่ง และ (3) ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ในภาพรวม ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 แต่พบว่า ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร ด้านการสนับสนุนทรัพยากรการสอน มีความสัมพันธ์เชิงลบกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับน้อยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงเรียน--การบริหารth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์th_TH
dc.title.alternativeRelationship between administratior' s instructional leadership and student learning achievement of basic education schools under Kalasin Primary Educational Service Area Officesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study instructional leadership of basic education school administrators under Kalasin Primary Education Service Area Offices; (2) to study learning achievement of students in basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Offices; and (3) to study the relationships between administrator’s instructional leadership and student’s learning achievement in basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Offices. The research sample consisted of 226 basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Offices, obtained by simple random sampling. The 226 research informants consisted of the deputy director on academic affairs or the head of academic affairs section of each of the 226 schools. The employed research instruments were a data collecting form on student’s learning achievement and a rating scale questionnaire on administrator’s instructional leadership. Data were statistically analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation coefficient. Research findings revealed that (1) the overall instructional leadership of administrators of basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Offices was rated at the high level in every aspect, with the aspect receiving the highest rating mean being the curriculum management aspect, followed by the creation of personnel’s morale and will power aspect, the provision of instructional resources support aspect, and the instructional supervision aspect, respectively; (2) of the 226 schools in the sample, 137 schools had student’s learning achievement at the high level, while 89 schools had student’s learning achievement at the low level; and (3) no significantly positive relationship was found between administrator’s instructional leadership and student’s learning achievement in basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Offices at the .01 level; however, it was found that administrator’s instructional leadership in the provision of instructional resources support aspect had negative relationship with student’s learning achievement at the very low levelen_US
dc.contributor.coadvisorเก็จกนก เอื้อวงศ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148302.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons