Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8927
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ยth_TH
dc.contributor.authorสุภลักษณ์ สถิตไชยนนท์, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T08:15:00Z-
dc.date.available2023-08-16T08:15:00Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8927en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโครงการห้องเรียนพิเศษชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ในด้านวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ความพร้อมด้านปัจจัยเบื้องต้น ความเหมาะสมด้านกระบวนการ และผลผลิตของหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 5 คน ครูผู้สอน จำนวน 30 คน นักเรียน จำนวน 341 คน ผู้ปกครอง จำนวน 341 คน และผู้สำเร็จการศึกษา จำนวน 233 คน รวมทั้งสิ้น 950 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร มีความชัดเจน และมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน (2) ความพร้อมด้านปัจจัยเบื้องต้น ได้แก่ โครงสร้างหลักสูตร เนื้อหารายวิชา คุณลักษณะของครูผู้สอน คุณลักษณะของนักเรียน อาคาร สถานที่ สื่อ อุปกรณ์การเรียนการสอน และงบประมาณ มีความพร้อมอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน (3) ความเหมาะสมด้านกระบวนการ ได้แก่ การบริหารหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดผลและประเมินผล มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน และ (4) ด้านผลผลิตของหลักสูตร ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน นักเรียนที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรดังกล่าวผ่านเกณฑ์การประเมิน การประเมินการคิดวิเคราะห์ และเขียน การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผ่านเกณฑ์การประเมิน ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (O – NET) ของนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรโครงการห้องเรียนพิเศษ มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทั้ง 7 กลุ่มสาระ สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ยกเว้นกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.253en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการประเมินหลักสูตรth_TH
dc.subjectห้องเรียนth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.titleการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโครงการห้องเรียนพิเศษชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of special classroom project of school-base curriculum at the Lower Secondary level of Suan Kularb Wittayalai Nonthaburi Schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to evaluate the Special Classroom Project of school-based curriculum in the components of curriculum objectives, readiness of the input factors, appropriateness of the process factors, and curriculum outputs the research sample totaling 950 persons consisted of 5 school administrators, 30 classroom teachers, 341 students, 341 parents, and 233 students who graduated from the school. The employed research instruments were a 5-scale rating questionnaire and a data recording form. Research data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and content analysis research findings revealed that (1) the curriculum objectives were found to be clear and appropriate at the high level, thus passing the evaluation criteria; (2) the input factors, namely, curriculum structure, course contents, teacher characteristics, student characteristics, buildings and facilities, instructional media, teaching aids, and budget were ready at the high level, thus passing the evaluation criteria; (3) the curriculum process factors, namely, curriculum management, organizing of learning activities, and measurement and evaluation were appropriate at the high level, thus passing the evaluation criteria; and (4) the curriculum outputs, namely, learning achievement of students who graduated from the curriculum passed the evaluation criteria, evaluation results of student’s analytical thinking and writing, student’s desirable characteristics, and participation in learner development activities passed the evaluation criteria; the O-NET results at Mathayom Suksa III level in seven learning areas of students who graduated from the Special Classroom Project were higher than the national norm, thus passing the evaluation criteria; however, the only exception was that of the Health and Physical Education Learning Area which did not pass the evaluation criteria.en_US
dc.contributor.coadvisorสุพักตร์ พิบุลย์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148346.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons