Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8939
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันทร์ทิมา ขุนบำรุง, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-17T06:45:19Z-
dc.date.available2023-08-17T06:45:19Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8939-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการตระหนักรู้ในตนเองต่อเรื่องเพศของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว 2) เปรียบเทียบการตระหนักรู้ ในตนเองต่อเรื่องเพศของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อชุดกิจกรรมแนะแนว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ของโรงเรียนหอพระ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 50 คน ได้มาโดยสุ่มแบบกลุ่ม จากนั้นสุ่มอย่างง่าย เพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 25 คนเท่ากัน กลุ่มทดลองได้รับการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมการตระหนักรู้ในตนเองต่อเรื่องเพศ และกลุ่มควบคุมได้รับกิจกรรม แนะแนวแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมการตระหนักรู้ในตนเองต่อเรื่องเพศ 2) แบบวัดการตระหนักรู้ในตนเองต่อเรื่องเพศ ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 3) กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ และ 4) แบบวัดความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมการตระหนักรู้ในตนเองต่อเรื่องเพศ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏ 1) ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองมีการตระหนักรู้ในตนเองต่อเรื่องเพศเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองมีการตระหนักรู้ในตนเองต่อเรื่องเพศสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) ความพึงพอใจของนักเรียนต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมการตระหนักรู้ในตนเองต่อเรื่องเพศอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเพศศึกษา -- การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectการแนะแนว -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- ไทย -- เชียงใหม่th_TH
dc.subjectการแนะแนว -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมการตระหนักรู้ในตนเองต่อเรื่องเพศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหอพระ จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeEffects of using guidance activity package for enhancing self-awareness of sex in Mathayom Suksa II Students Horpha School, Chiangmai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to compare self-awareness of sex in an experimental student group before and after using a guidance activities package for enhancing self-awareness 2) to compare self-awareness of sex of students after using the guidance activities package in the experimental group and the control group; and 3) to study satisfaction of the students after using the guidance activities package for enhancing self-awareness of sex. The samples consisted of 50 students of the Second Mattayomsuksa in Horpha School, Chiangmai Province in 2015 academic year, obtained by group randomization. Then, they were divided by simple random sampling into 2 groups, the experimental group and the control group, 25 students in each group. The employed research instrument were 1) the guidance activities package for enhancing self-awareness of sex; 2) the scale to assess self-awareness of sex that had reliability of .93; 3) the traditional guidance activities; and 4) the scale to assess satisfaction of the students after using the guidance activities package. Statistics for analysis were mean, standard deviation and t-test. Research findings showed that 1) post-experiment, the students in the experimental group had self-awareness of sex higher than pre-experiment significantly at .01 level; 2) post-experiment, the students in the experimental group had self-awareness of sex higher than the control group significantly at .01 level; and 3) the satisfaction of the students after using the guidance activities package were highen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150116.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons