Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8960
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์th_TH
dc.contributor.authorอิทธิพล มะโนน้อม, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-18T07:20:09Z-
dc.date.available2023-08-18T07:20:09Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8960en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนอิงสื่อสังคม วิชาแนวคิดและทฤษฎี ด้านการจัดการทางวัฒนธรรม เรื่องธุรกิจและการเงิน สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วย ชุดการสอนอิงสื่อสังคม วิชาแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดการทางวัฒนธรรม เรื่องธุรกิจและการเงิน และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการสอนอิงสื่อสังคม วิชาแนวคิดและทฤษฎี ด้านการจัดการทางวัฒนธรรม เรื่องธุรกิจและการเงิน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการจัดการมรดก วัฒนธรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่เรียนใน ปีการศึกษา 2558 จำนวน 35 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดการสอนอิงสื่อสังคม วิชาแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดการทางวัฒนธรรม เรื่องธุรกิจและการเงิน 3 หน่วยการเรียน ได้แก่ หน่วยที่ 4 การวิเคราะห์และการจัดตั้งธุรกิจ หน่วยที่ 5 การวิเคราะห์ทางการเงิน และหน่วยที่ 6 งบกระแสเงินสด (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และ (3) แบบสอบถาม ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อชุดการสอนอิงสื่อสังคม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/ E2 การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ชุดการสอนอิงสื่อสังคมที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วย มีประสิทธิภาพ ดังนี้ 78.63/78.85, 80.58/81.92 และ 78.43/79.88 ซึ่งมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) นักศึกษา ที่เรียนด้วยชุดการสอนอิงสื่อสังคมมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการสอนอิงสื่อสังคมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.128en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการเงิน--การจัดการth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนอิงสื่อสังคมวิชาแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดการทางวัฒนธรรมเรื่อง ธุรกิจและการเงิน สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a social media based instructional package in the concepts and theories of cultural management course on the topic of business and finance for First Year Undergraduate Students of the College on Innovation, Thammasat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a social media based instructional package in the Concepts and Theories of Cultural Management on the topic of Business and Finance for first year undergraduate students of the College of Innovation, Thammasat University based on the set efficiency criterion; (2) to study the learning progress of students who learned from the social media based instructional package in the Concepts and Theories of Cultural Management on the topic of Business and Finance; and (3) to study the students’ satisfaction with the social media based instructional package in the Concepts and Theories of Cultural Management Course on the topic of Business and Finance The research sample consisted of 35 first year undergraduate students in an intact classroom in the Management of Cultural Heritage and Creative Industries Program of the College of Innovation, Thammasat University during the 2015 academic year, obtained by cluster sampling. The research instruments were (1) a social media based instructional package in the Concepts and Theories of Cultural Management Course on the topic of Business and Finance comprising three learning units: Unit 4: Business Analysis and Establishment; Unit 5: Financial Analysis; and Unit 6: Flow Cash Statement; (2) a learning achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on student’s satisfaction with the social media based instructional package. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test Research findings revealed that (1) the developed three units of social media based instructional package were efficient at 78.63/78.85, 80.58/81.92, and 78.43/79.88, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; (2) students who learned from the social media based instructional package achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) students were satisfied with the social media based instructional package at the high level.en_US
dc.contributor.coadvisorสุพัตรา คูหากาญจน์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151585.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons