Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8972
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุลีวัลย์ สินแสนยานุกูล, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-21T03:07:42Z-
dc.date.available2023-08-21T03:07:42Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8972-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความกล้าแสดงออกทางความคิด ของพนักงานระดับปฎิบัติการที่ทำงานกับชาวต่างชาติ ก่อนและหลังการให้การปรึกษากลุ่มตามทฤษฏีพฤติกรรมนิยม และ (2) เปรียบเทียบความกล้าแสดงออกทางความคิดของพนักงานระดับปฎิบัติการที่ทำงานกับชาวต่างชาติ ภายหลังการให้การปรึกษากลุ่มตามทฤษฏีพฤติกรรมนิยมกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานระดับปฎิบัติการที่ทำงานกับชาวต่างชาติที่มีอายุตั้งแต่ 20-50 ปี อาศัยและทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 8 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบแบบวัดความกล้าแสดงออกทางความคิดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเที่ยง .91 และโปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพฤติกรรมนิยม มีระยะเวลาในการทดลอง จำนวน 8 ครั้ง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบเครื่องหมายของวิลคอกซัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) พนักงานระดับปฎิบัติการที่ทำงานกับชาวต่างชาติที่ได้เข้าโปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพฤติกรรมนิยม มีความกล้าแสดงออกทางความคิดสูงขึ้นกว่าก่อนเข้าโปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ (2) พนักงานระดับปฎิบัติการที่ทำงานกับชาวต่างชาติมีความกล้าแสดงออกทางความคิดในระยะติดตามผลไม่แตกต่างกับระยะหลังการทดลองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectการแสดงออก (จิตวิทยา)th_TH
dc.titleผลของการให้การปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพฤติกรรมนิยมที่มีผลต่อความกล้าแสดงออกทางความคิดของพนักงานระดับปฏิบัติการที่ทำงานกับชาวต่างชาติในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeEffects of using group counseling based on behaviourism theory on assertive thinking of Thai Practitioners working with international colleagues in Bangkok Metropolitan Areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the levels of assertivethinking of Thai practitioners working with international colleagues before and after receiving group counselling based on behaviourism theory; and (2) to compare the levelsof assertive thinking of Thai practitioners working with international colleagues at the end of the experiment and during the follow up period. The research sample consisted of eight purposively selected Thai practitioners, aged 20 – 50 years, living in Bangkok metropolitan area and working withinternational colleagues. They received group counselling based on behaviourismtheory for eight periods. The employed research instruments were a scale to assessassertive thinking, developed by the researcher, with reliability coefficient of .91, anda group counselling program based on behaviourism theory. Statistics for data analysedwere the mean, standard deviation, and the Wilcoxon Matched Pairs Signed Ranks Test. Research findings revealed that (1) the post-experiment after joining a groupcounselling programme based on behaviourism theory, the post-experiment assertivethinking level of Thai practitioners working with international colleagues was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .05 level ofstatistical significance; and (2) the assertive thinking level at the end of the experimentof Thai practitioners working with international colleagues was not significantly different from its counterpart level during the follow up perioden_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152841.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons