Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8996
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกฤษฎา หัดหรอ, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T02:37:28Z-
dc.date.available2023-08-22T02:37:28Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8996-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาหลังเรียนของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดภูเก็ต ของกลุ่มที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กับของกลุ่มที่เรียนแบบปกติเรื่อง สิ่งแวดล้อม และ (2) เปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดภูเก็ต ของกลุ่มที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐานกับของกลุ่มที่เรียนแบบปกติเรื่อง สิ่งแวดล้อม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนภูเก็ตไทยหัวอาเซียนวิทยา ปีการศึกษา 2559 จำนวน 53 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องสิ่งแวดล้อม และแผนการจัดการเรียนรู้ปกติ (2) แบบวัดทักษะการแก้ปัญหา และ (3) แบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ทักษะการแก้ปัญหาหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดภูเก็ต ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานไม่แตกต่างจากของนักเรียนที่เรียนแบบ ปกติ และ (2) ทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น ฐานสูงกว่าของนักเรียนที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.146en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.subjectการแก้ปัญหา -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectทักษะทางการคิด -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectสิ่งแวดล้อม -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- ไทย -- ภูเก็ตth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องสิ่งแวดล้อมที่มีต่อทักษะการแก้ปัญหาและทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeEffects of problem-based learning management in the topic of environment on problem solving skill and analytical thinking skill of Mathayom Suksa VI students in Phuket Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to compare the post-learning problem solving skill of Mathayom Suksa VI students in Phuket province who learned under the problem-based learning management in the topic of Environment with the post-learning counterpart skill of students who learned from traditional teaching method; and (2) to compare the post-learning analytical thinking skill of Mathayom Suksa VI students in Phuket province who learned under the problem-based learning management in the topic of Environment with the post-learning counterpart skill of students who learned from traditional teaching method. The research sample consisted of 53 Mathayom Suksa VI students at Phuket Thaihua Asian Wittaya School in the 2016 academic year, obtained by cluster sampling. The research instruments comprised (1) learning management plans in the topic of Environment for the problem-based learning management, and learning management plans in the topic of Environment for the traditional teaching method; (2) a problem solving skill test; and (3) an analytical thinking skill test. Research data were statistically analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the post-learning problem solving skill of Mathayom Suksa VI students in Phuket province who learned under the problem-based learning management was not significantly different from the post-learning counterpart skill of the students who learned from the traditional teaching method; and (2) the post-learning analytical thinking skill of the students who learned under the problem-based learning management was significantly higher than the post-learning counterpart skill of the students who learned from the traditional teaching method at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154686.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons