Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8999
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจิระสุข สุขสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบญจวรรณ ขำเอนก, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T03:12:06Z-
dc.date.available2023-08-22T03:12:06Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8999-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารายกรณีของสภาพปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไขปัญหาพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 5 คน ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกการสังเกต แบบบันทึกการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบการเขียนอัตชีวประวัติ แบบบันทึกประจำวัน ระเบียนสะสม แบบการเยี่ยมบ้าน แบบสอบถาม และแบบทดสอบทางจิตวิทยา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) สภาพปัญหาพฤติกรรมก้าวร้าวของกรณีศึกษาจำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ประกอบด้วย ลักษณะพฤติกรรมก้าวร้าวทางกาย และ ลักษณะพฤติกรรมก้าวร้าวทางวาจา (2) สาเหตุของพฤติกรรมก้าวร้าว เกิดจากผู้รับการศึกษาเคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมก้าวร้าวที่บุคคลกระทาต่อกัน ได้แก่ พฤติกรรมก้าวร้าวของบิดามารดา คนในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน บุคคลในชุมชน และจากการเสพสื่อประเภทต่างๆ และ (3) แนวทางการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมก้าวร้าวของผู้รับการศึกษา ได้แก่ (3.1) ตัวผู้รับการศึกษาตระหนักในพฤติกรรมก้าวร้าวของตนเองว่าเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ไม่ควรกระทำ (3.2) เพื่อนร่วมชั้นเรียนต่อต้านและหลีกเลี่ยงการปะทะที่ก่อให้เกิดความรุนแรงกับผู้รับการศึกษา และ (3.3) ครูประจำชั้นและผู้ปกครองร่วมมือกันให้การดูแลเอาใจใส่ในการแก้ไขพฤติกรรมก้าวร้าวของผู้รับการศึกษามากขึ้น เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของผู้รับการศึกษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความก้าวร้าวในเด็ก -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)th_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา -- พฤติกรรมth_TH
dc.titleการศึกษาสภาพปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไขปัญหาพฤติกรรมก้าวร้าว: กรณีศึกษานักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeStudy of problem conditions, causes and guidelines for solving aggressive behavior problems: a case study study of upper primary students of a school in the Northeastern Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to conduct a case study of problem conditions, causes and guidelines for solving aggressive behavior problems of upper primary students of a school in the Northeastern Region of Thailand. The key informants were five purposively selected upper primary students with aggressive behaviors in a school in the Northeastern Region of Thailand. The employed data collecting instruments were an observation recording form, an in-depth interview recording form, an autobiography writing form, a daily events recording form, a cumulative record, a home visit recording form, a profile questionnaire, and a psychological test. Data were analyzed using content analysis. The results were as follows: (1) aggressive behavior problems of case study students could be classified into two categories, namely, physical aggressive behavior problems and verbal aggressive behavior problems; (2) regarding the causes of aggressive behaviors, it was found that aggressive behaviors in the case study students were caused by their having previous experiences concerning aggressive behaviors of other people including their parents, family members, relatives, neighbors, people in the community, and aggressive behaviors shown in the various types of media; and (3) guidelines for solving aggressive behaviors were the following: (3.1) the case study students must realize that their aggressive behaviors were inappropriate and should not be undertaken; (3.2) their classmates must resist and avoid the confrontation that will result in violence against the case study students; and (3.3) homeroom teachers and parents must collaborate more to provide care to correct the aggressive behaviors of case study students in order to reduce their aggressive behaviorsen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154689.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons