Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9001
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรนลิน ไทยเจริญ, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T04:08:55Z-
dc.date.available2023-08-22T04:08:55Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9001-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบเจตคติในการป้องกันโรคของผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดกลุ่มทดลองก่อนและหลังการปรึกษาแบบกลุ่ม และ (2) เปรียบเทียบเจตคติในการป้องกันโรคของผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษาแบบกลุ่มและของกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด จำนวน 16 คน ที่โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม จังหวัดสระบุรี ได้มาโดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 8 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย กลุ่มทดลองได้รับการให้การปรึกษาแบบกลุ่ม จำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อเสริมสร้างเจตคติในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด และ (2) แบบวัดเจตคติในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .87 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดกลุ่มทดลอง มีเจตคติในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ภายหลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการให้การปรึกษาแบบกลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดกลุ่มทดลองมีเจตคติในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดภายหลังการทดลองสูงกว่าของกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectหัวใจ -- โรค -- การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectหลอดเลือด -- โรค -- การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.titleผลของการปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อเสริมสร้างเจตคติในการป้องกันโรคของผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดโรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม จังหวัดสระบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffects of group counseling to enhance attitudes toward disease prevention of people at risk of cardiovascular disease in Wang Muang Sattham Hospital, Saraburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare attitudes toward disease prevention of people at risk of cardiovascular disease in the experimental group before and after receiving group counseling; and (2) to compare attitude toward disease prevention of people at risk of cardiovascular disease in the experimental group who received group counseling with that of people at risk of cardiovascular disease in the control group who received usual care. The subjects were 16 people at risk of cardiovascular disease in Wang Muang Sattham Hospital, Saraburi province. They were purposively selected based on pre-determined criteria. Then, they were randomly assigned into an experimental group and a control group, each of which containing eight subjects. The experimental group received eight sessions of group counseling each of which lasted for 60 minutes; while the control group received usual care. The employed research instruments were (1) a group counseling program for enhancing attitudes toward prevention of cardiovascular disease, and (2) an assessment scale on attitudes toward prevention of cardiovascular disease, with the reliability coefficient of .87. Data were analyzed using the median, inter-quartile range, Wilcoxon test, and Mann-Whitney test. The findings showed that (1) the post-experiment level of attitudes toward prevention of cardiovascular disease of people at risk of cardiovascular disease in the experimental group, who had received group counseling, was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .05 level of statistical significance; and (2) after receiving group counseling, attitude toward disease prevention of the people at risk of cardiovascular disease in the experimental group was significantly higher than the counterpart attitude of the control group people at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154691.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons