Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9003
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนลินี ณ นคร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสังวรณ์ งัดกระโทก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชลิดา ไชยพันธ์กุล, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T04:19:54Z-
dc.date.available2023-08-22T04:19:54Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9003-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวชี้วัดจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดภูเก็ต 2) พัฒนาเกณฑ์การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดภูเก็ต และ 3) ตรวจสอบความเหมาะสมของเกณฑ์การประเมิน จิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดภูเก็ต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาการมัธยมศึกษา เขต 14 จังหวัดภูเก็ต ปีการศึกษา 2558 จำนวน 520 คน โดยเลือกมาด้วยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ตัวชี้วัดจิตวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นมี 28 ตัวชี้วัด ครอบคลุมองค์ประกอบ 4 ด้าน ได้แก่ ความมีเหตุผล ประกอบด้วย 11 ตัวชี้วัด ความอยากรู้อยากเห็น ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัด ความใจกว้าง ประกอบด้วย 4 ตัวชี้วัด ความซื่อสัตย์และมีใจเป็นกลางพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจ ประกอบด้วย 8 ตัวชี้วัด โมเดลการวัดจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ น้ำหนักองค์ประกอบของตัวชี้วัดทั้ง 28 ตัวมีค่าเป็นบวกและมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความเที่ยงขององค์ประกอบมีค่าระหว่าง 0.82 ถึง 0.94 (2) คะแนนจุดตัดสำหรับประเมินจิตวิทยาศาสตร์มีค่าเท่ากับ 85 คะแนน และ (3) เกณฑ์การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมีความเหมาะสม โดยมีค่าความไวและค่าความจำเพาะเท่ากับ 85.13 และ 82.22 ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.136en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectจิตกับวิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectจิตวิทยาเด็ก -- ไทยth_TH
dc.subjectสุขภาพจิตเด็กth_TH
dc.subjectจิตวิทยาวัยรุ่นth_TH
dc.titleการพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of indicators and criteria for evaluation of scientific mind of lower secondary students in Phuket Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop indicators of scientific mind of lower secondary students in Phuket province; (2) to develop evaluation criteria of scientific mind of lower secondary students in Phuket province; and (3) to verify appropriateness of evaluation criteria of scientific mind of lower secondary students in Phuket province. The research sample consisted of 520 lower secondary students in schools under the Secondary Education Service Area Office 14 in Phuket province during the 2015 academic year, obtained by stratified random sampling. The tool being used for this research was a scale for assessment of scientific mind, which was a 5-scale rating questionnaire. The statistical procedure for data analysis was the confirmatory factor analysis. The research results showed that (1) the developed indicators of scientific mind consisted of 28 indicators covering 4 factors as follows: rationality, with 11 indicators; curiosity, with 5 indicators; open-mindedness, with 4 indicators; honesty and suspended judgment, with 8 indicators; the measurement model of student’s scientific mind was consistent with empirical data; the factor weightings of all 28 indicators showed positive values and were significant at the .05 level; and the reliability coefficients of the factors ranged from .82 to .94; (2) The cut-off score for evaluation of scientific mind was the score of 85; and (3) Evaluation criteria of student’s scientific mind were appropriate, with sensitivity index and specificity index of 85.13 and 82.22, respectivelyen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154699.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons