Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9004
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขวัญหทัย ชัยมงคล, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T06:19:49Z-
dc.date.available2023-08-22T06:19:49Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9004-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรคของนักเรียนเมียนมาร์ชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวัดเชตวันหนองหมู จังหวัดลาพูน ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรคของนักเรียนเมียนมาร์ชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวัดเชตวันหนองหมู จังหวัดลาพูน ระยะหลังการทดลองกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนเมียนมาร์ ชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวัดเชตวันหนองหมู จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ชุดกิจกรรม แนะแนวเพื่อพัฒนาความสามารถในการฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรค และแบบวัดความสามารถใน การฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรค มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนเมียนมาร์ชั้นประถมศึกษาตอนปลายโรงเรียนวัดเชตวันหนองหมู มีความสามารถในการฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรคสูงขึ้นภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) นักเรียนดังกล่าว มีความสามารถในการฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรคภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวและระยะติดตามผลไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.141en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการฟันฝ่าอุปสรรค -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความสามารถในการฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรคของนักเรียนเมียนมาร์ ชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวัดเชตวันหนองหมู จังหวัดลำพูนth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop adversity quotient of Myanmar students at upper primary level of Wat Chetawan Nong Moo School in Lamphun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare adversity quotients of Myanmar students at upper primary level of Wat Chetawan Nong Moo School in Lamphun province before and after using a guidance activities package; and (2) to compare adversity quotients of Myanmar students at upper primary level of Wat Chetawan Nong Moo School in Lamphun province at the end of the experiment and during the follow up period. The research sample consisted of 30 randomly selected Myanmar students at upper primary level of Wat Chetawan Nong Moo School in Lamphun province. The employed research instruments comprised a guidance activities package to develop adversity quotient, and a scale to assess adversity quotient, with reliability coefficient of .86. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research results were that (1) the post-experiment adversity quotient of Myanmar students at upper primary level of Wat Chetawan Nong Moo School who used the guidance activities package to develop adversity quotient was significantly higher than their pre-experiment adversity quotient at the .05 level of statistical significance; and (2) no significant difference was found between their adversity quotients at the end of the experiment and during the follow up perioden_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154700.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons