Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9020
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัฎฐิญา สิริบวรพิพัฒน์th_TH
dc.contributor.authorณัฐรดา ไล้ทองคำ, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T07:35:38Z-
dc.date.available2023-08-22T07:35:38Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9020en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ : ศึกษากรณีปัญหา การทำร้ายร่างกายระหว่างสามีภริยา มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความเป็นมา แนวคิด รูปแบบ และขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ความเหมาะสม ตลอดจนข้อดีข้อเสียในการนำ กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาปรับใช้ในการฟืนฟูเยียวยาการกระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายระหว่างสามีภริยาควบคู่กับกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก เพื่อหาแนวทางในการกำหนดรูปแบบของการนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้กับการลงโทษผู้กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายระหว่างสามีภริยา เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาวิจัยจากเอกสาร ซึ่งทำการรวบรวมเอกสาร ทั้งจากตำรา หนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และผลงานทางวิชาการอื่นๆ รวมถึงหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ จากการศึกษาพบว่า การดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรมกระแสหลักในความผิด ฐานทำร้ายร่างกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 ระหว่างสามีภริยามุ่งเน้นแต่เพียงการลงโทษผู้กระทำความผิดเป็นสำคัญ แม้ศาลจะมีดุลพินิจในการใช้มาตรการรอการลงโทษตามมาตรา 56 ก็ไม่ทำให้ผู้กระทำความผิดตระหนักหรือสำนึกในการกระทำของตน หรือลดความขัดแย้งระหว่างสามีภริยาได้ส่งผลกระทบต่อส้มพันธภาพอันดีระหว่างสามีภริยาในระยะยาว เนื่องจากไม่มีการฟื้นฟูหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้กระทำความผิด รวมถึงไม่มีการเยียวยาผู้เสียหายอย่างแท้จริง แต่หากมีการนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในรูปแบบการไกล่เกลี่ยระหว่าง ผู้เสียหายและผู้กระทำความผิดมาใช้ควบคู่กับกระบวนการยุติธรรมกระแสหลักโดยมีการกำหนด แนวทางร่วมกันและบัญญัติกฎหมายรองรับการปฏิบัติงาน แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะส่งผลให้ ผู้กระทำความผิดมีความสำนึกและรับผิดชอบในการกระทำทั้งยังสามารถรักษาส้มพันธภาพอันดี ระหว่างกันและลดความขัดแย้งที่อาจเกิดขื้นในอนาคตด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทำร้ายร่างกายth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์th_TH
dc.titleกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ : ศึกษากรณีปัญหาการทำร้ายร่างกายระหว่างสามีภริยาth_TH
dc.title.alternativeRestorative justice : case study of wife assaulten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to investigate the background, concept, pattern and steps of restorative justice. It also focuses on the appropriateness including pros and cons in applying the restorative justice together with the conventional justice to give a remedy for parties involving in bodily harm between spouses in order to find the guideline in determining the pattern for applying the restorative justice to the conviction of the offender in the case of bodily harm between spouses. This study is a qualitative research by studying the documents compiled from textbooks, books, articles, research papers, dissertations including other academic papers as well as principles of law relating to Thai and foreign restorative justice. The conclusion from the study indicates that the compliance with the conventional justice on the offence against bodily harm under Section 295 of the Thai Penal Code, concerning domestic violence against spouse solely aims to penalize the offender. Although the court uses his discretion for a suspended sentence according to Section 56 of the Code, it cannot help the offender to feel remorse for his/her own action, or reduce the conflict between the spouses. Instead, it will impact on the couple’s long-term relationship, since the offender’s behaviors are not improved or modified and the injured person is not justly remedied. However, if the restorative justice in form of mediation is applied to settle the dispute between the injured person and the offender in tandem with the conventional justice by determining common guideline and by legislating the laws to support the operations of relevant agencies, it will make the offender to acknowledge and being accounted for his/her action. On top of that, it will maintain the harmonious relationship between the husband and spouse and reduce the conflict that may arise in the future.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_145042.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons