Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9056
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสังวรณ์ งัดกระโทกth_TH
dc.contributor.authorพฤฒ ใบระหมาน, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T06:19:10Z-
dc.date.available2023-08-24T06:19:10Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9056en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพภาษาฝรั่งเศสกับกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรป โดยใช้วิธีแผนที่ข้อสอบ และ (2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความไม่สอดคล้องระหว่างข้อสอบวิชาภาษาฝรั่งเศสกับกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรป ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ เนื้อหาของข้อสอบและการวัดทักษะทางสมอง (cognitive demand) ประชากรที่ใช้ศึกษา คือ ข้อสอบความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพภาษาฝรั่งเศส (PAT 7.1) จำนวน 100 ข้อ และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560 แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ฝรั่งเศส ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในศูนย์พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสภาคใต้ตอนล่าง จำนวน 388 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนจำนวน 163 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้วิจัย ประกอบด้วย แบบทดสอบความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพภาษาฝรั่งเศส (PAT 7.1) แบบประเมินความสอดคล้องตามแบบพอร์เตอร์ และแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ การหาค่าสัดส่วน โมเดลการตอบข้อสอบแบบ 1 พารามิเตอร์ (โมเดลราสช์) ไคสแคว์ ร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย มีดังต่อไปนี้ (1) ข้อสอบความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพภาษาฝรั่งเศสที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรป มีจำนวน 16 ข้อ โดยข้อสอบที่สอดคล้องทั้งหมดวัดสมรรถนะการอ่าน ข้อสอบที่สอดคล้องส่วนใหญ่อยู่ในระดับภาษา A2 และวัดทักษะทางสมองขั้นวิเคราะห์/สืบสวน ผลการประเมินโดยใช้วิธีแผนที่ข้อสอบกับผลการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญมีความสอดคล้องกัน และ (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความไม่สอดคล้องสามารถแบ่งออกได้ 3 มิติ ได้แก่ ความไม่สัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาที่ใช้ออกข้อสอบกับเนื้อหาของมาตรฐาน การวัดทักษะทางสมองที่แตกต่างกัน และการใช้ภาษาและไวยากรณ์ในการสร้างข้อสอบที่ไม่สัมพันธ์กับมาตรฐานและไม่สัมพันธ์กับระดับความสามารถทางภาษาของนักเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.139en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา-- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาษาฝรั่งเศส--ข้อสอบและเฉลยth_TH
dc.subjectข้อสอบth_TH
dc.subjectความสามารถทางภาษา--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบระดับชาติวิชาภาษาฝรั่งเศสกับกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรปโดยใช้วิธีแผนที่ข้อสอบth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of alignment between French language national test and the common European framework of reference for languages using item mappingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to evaluate the alignment between the Professional and Academic Aptitude Test in French Language (PAT 7.1) and the Common European Framework of Reference for Languages by using item mapping; and (2) to study factors affecting misalignment between the Professional and Academic Aptitude Test in French Language (PAT 7.1) and the Common European Framework of Reference for Languages. Variables to be studied were the test content and cognitive demand. The research populations were 100 items of PAT 7.1 and 388 Mathayom Suksa VI students in the English – French Program of secondary schools under the French Language Instructional Quality Development Center of the Lower Southern Region during the academic year 2017. The research sample consisted of 163 students obtained by multi-stage sampling method. Research tools consisted of a PAT 7.1 test, Porter’s alignment evaluation form, and a set of open-ended interview questions. Data was analyzed with the use of proportion, Rasch IRT model, chi-square test, percentage, and content analysis. The study revealed that (1) there were 16 items of PAT 7.1 aligning with the Common European Framework of Reference for Languages; most of them were classified into A2 level and evaluated analysis/investigation skill; moreover, item mapping result was coherent with that of panelists’ judgement; and (2) three main factors affecting misalignment were identified: the incoherence between item content and standard content, the unmatched levels of cognitive demands, and the language and grammar used in the items that was irrelevant to the standard and to students’ language proficiency levels.en_US
dc.contributor.coadvisorนลินี ณ นครth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155389.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons