Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9124
Title: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพีงพอใจในการทำงานของข้าราชการกรมสรรพสามิตในกรุงเทพมหานคร
Other Titles: Factors affecting job satisfaction of goverment officers a case study of Bangkok, Excise Department
Authors: ฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร
วรางคณา ชาญศิริวัฒน์, 2503-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี
กรมสรรพสามิต--ข้าราชการ--ความพอใจในการทำงาน
ข้าราชการ--ความพอใจในการทำงาน.--ไทย
Issue Date: 2546
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (I) วัดระดับความพึงพอใจในการทำงานของข้าราชการกรมสรรพสามิตในกรุงเทพมหานกร (2) เพื่อระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการทำงานของข้าราชการกรมสรรพสามิตในกรุงเทพมทานคร (3) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการทำงาน โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุกคล ได้แก่ อายุ ประสบการณ์การทำงานระดับตำแหน่ง ระดับการศึกษา และรายได้ โดยนำเอาทฤยฎีของ เฟรดเดอริค เฮอร์สเบอร์กมาประยุกต์ใช้กลุ่มประชากรเป็นข้าราชการกรมสรรพสามิตในกรุงเทพมหานคร จำนวน 262 กนนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้โปรแกรมเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ spss/pCสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ด่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 หรือ .05 ผลการวิจัย พบว่า ข้าราชการกรมสรรพสามิตในกรุงเทพมหานครมีระดับความพึงพอใจในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง และทุกปัจจัยที่ศึกษาทั้ง 8 ด้าน มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการทำงานของข้าราชการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 01 ได้แก่ ปัจจัยความก้าวหน้าของงาน นโขบายการบริหารงานขององค์กร ผลตอบแทนและประโยชน์เกื้อกูลการบังคับบัญชา ลักษณะงานที่ปฏิบัติ แนวทางการบริหาร ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน และสภาพแวดล้อมการทำงาน ตามลำดับ โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการทำงานมีเพียง3 ปัจจัย เรียงลำดับดังนี้ ความก้าวหน้าของงาน นโยบายการบริหารงานขององค์กร ผลตอบแทนและประ โยชน์กื้อกูล ซึ่งเมื่อจำแนกตามปัจัยส่วนบุดคลถือ กลุ่มอายุ ประสบการณ์การทำงานการศึกษา และรายได้แล้ว ความพึงพอใจในการทำงานของข้าราชการกรมสรรพสามิต ไม่มีความแตกต่างกัน แต่เมื่อจำแนกตามระดับตำแหน่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9124
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82430.pdf2.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons