Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9338
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจินต์ วิศวธีรานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจรุณี ศรีทาดี, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T01:58:10Z-
dc.date.available2023-09-01T01:58:10Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9338-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเคมี เรื่อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ จังหวัด อุดรธานี ที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD กับของนักเรียนที่เรียนแบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ จังหวัดอุดรธานี ที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียน แบบสืบเสาะหาความรู้ที่เน้นการเรียนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD กับของนักเรียนที่เรียนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี 2 ห้องเรียน จำนวน 80 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม แล้วสุ่มห้องเรียน เป็นกลุ่มทดลองที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือด้วย เทคนิค STAD และกลุ่มควบคุมที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี และแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่าของนักเรียนกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่าของนักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.subjectการเรียนแบบมีส่วนร่วมth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- เคมีth_TH
dc.subjectความคิดและการคิด -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- ไทย -- อุดรธานีth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD วิชาเคมี เรื่องของแข็ง ของเหลว แก๊ส ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeEffects of inquiry learning management together with STAD cooperative learning technique in the chemistry course topic of solid, liquid and Gas on learning achievement and analytical thinging ability of Mathayom Suksa V students at extra-large sized secondary Schools in Udon Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare learning achievement in the Chemistry Course topic of Solid, Liquid and Gas of Mathayom Suksa V students at extra-large sized secondary schools in Udon Thani province, who learned from participating in learning activities under the inquiry learning management together with STAD cooperative learning technique with that of those who learned from participating in conventional learning activities; and (2) to compare analytical thinking ability of Mathayom Suksa V students at extra-large sized secondary schools in Udon Thani province, who learned from participating in learning activities under the inquiry learning management together with STAD cooperative learning technique with that of those who learned from participating in conventional learning activities. The sample consisted of 80 Mathayom Suksa V students in two intact classrooms of the Mathematics-Science Study Program at Kumphawapi School, Udon Thani province, obtained by cluster random sampling. Then, one class was randomly assigned as the experimental group to learn from participating in learning activities under the inquiry learning management together with STAD cooperative learning technique; while the other class, the control group to learn from participating in conventional learning activities. The research instruments were learning management plans for learning activities under the inquiry learning management together with STAD cooperative learning technique, a chemistry learning achievement test, and an analytical thinking ability test. Statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that (1) learning achievement in the Chemistry Course topic of Solid, Liquid and Gas of the experimental group students was higher than the counterpart learning achievement of the control group students at the .05 level of statistical significance; and (2) analytical thinking ability of the experimental group students was higher than the counterpart ability of the control group students at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155399.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons