Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9388
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนลินี ณ นครth_TH
dc.contributor.authorอนุพงษ์ สอดสี, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-04T08:31:14Z-
dc.date.available2023-09-04T08:31:14Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9388en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาและตรวจสอบคุณภาพแบบวัดความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปากของนักเรียนประถมศึกษา และ (2) ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปากของนักเรียนประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จังหวัดสุพรรณบุรี ปีการศึกษา 2561 จำนวน 500 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัดความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปาก การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ทฤษฎีการตอบข้อสอบแบบ 2 พารามิเตอร์ โมเดล GRM และการวินิจฉัยทางพุทธิปัญญา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แบบวัดความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปากมี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ การเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก, ความเข้าใจข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก, การประเมินค่าข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก, การใช้ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก, การสื่อสารกับวิชาชีพทันตกรรม และการสนับสนุนจากสังคม โมเดลการวัดความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปากสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2/df = 2.06, RMSEA = 0.046, SRMR = 0.048) และแบบวัด มีความตรงตามเกณฑ์ (2) การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปากของนักเรียนประถมศึกษา พบว่า นักเรียนมีรูปแบบความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปากครบทั้ง 6 ประกอบ ร้อยละ14.84 เมื่อพิจารณารายองค์ประกอบของความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปาก พบว่า องค์ประกอบที่นักเรียน มีความรอบรู้มากที่สุดคือ การสื่อสารกับวิชาชีพทันตกรรม รองลงมาคือ การสนับสนุนจากสังคม ส่วนองค์ประกอบที่นักเรียนมีความบกพร่องมากที่สุดคือ ความเข้าใจข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก รองลงมาคือ การเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปาก--การดูแลและสุขวิทยาth_TH
dc.subjectการประเมินผลทางการศึกษาth_TH
dc.subjectความรอบรู้ทางสุขภาพth_TH
dc.titleการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปากของนักเรียนประถมศึกษาth_TH
dc.title.alternativeAssessment of oral health literacy of primary school studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop and verify quality of a test on oral health literacy of primary school students; and (2) to evaluate oral health literacy of primary school students. The research sample consisted of 500 upper primary students in Suphan Buri province during the 2018 academic year, obtained by multi-stage sampling. Research data were collected by administering the test on oral health literacy with students in the sample group. Research data were analyzed using confirmatory factor analysis, GRM model of two-parameter item response theory, and cognitive diagnostic model. Research findings were as follows: (1) The developed test on oral health literacy was composed of six components, namely, accessibility of information on oral health, understanding of information on oral health, evaluation of information on oral health, utilization of information on oral health, communications with dentistry profession, and supports from society. The model of test on oral health literacy corresponded to the empirical data, (X2/df = 2.06, RMSEA = 0.046, and SRMR = 0.048), and the test had criterion-related validity. (2) Evaluation results of primary school students’ oral health literacy indicated that 14.84% of students had oral health literacy in all of the six components. When specific components of oral health literacy were considered, it was found that the component that the students had the highest literacy score was that of the communications with dentistry profession, followed by that of the supports from society; while the component that the students had the lowest literacy score was that of the understanding of information on oral health, followed by that of the accessibility of information on oral health.en_US
dc.contributor.coadvisorสังวรณ์ งัดกระโทกth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161987.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons