Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9460
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพนาพร แสนจันทร์, 2536--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-13T06:55:26Z-
dc.date.available2023-09-13T06:55:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9460-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการตัดสินใจใช้บริการอโกด้าของนักท่องเที่ยวชาวไทยเจเนอเรชั่นวาย (2) เปรียบเทียบความแตกต่างของการตัดสินใจใช้บริการอโกด้าของนักท่องเที่ยวชาวไทยเจเนอเรชั่นวาย จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับการตัดสินใจใช้บริการอโกด้าของนักท่องเที่ยวชาวไทย เจเนอเรชั่นวาย และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ของการยอมรับเทคโนโลยีกับการตัดสินใจใช้บริการอโกด้าของนักท่องเที่ยวชาวไทยเจเนอเรชั่นวาย การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษานี้คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยเจเนอเรชั่นวายที่ใช้บริการอโกด้า ซึ่งไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน คำนวณกลุ่มตัวอย่างจานวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้สูตรของคอแครน และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยเจเนอเรชั่นวายที่ใช้บริการอโกด้าอยู่ในระดับมากที่สุด (2) นักท่องเที่ยวชาวไทยเจเนอชั่นวายที่มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษาสูงสุด รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ประเภทการให้บริการ และความถี่ในการใช้บริการที่แตกต่างกันมีการตัดสินใจใช้บริการอโกด้าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของบริการอโกด้ามีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจใช้บริการอโกด้าของนักท่องเที่ยวชาวไทยเจเนอเรชั่นวายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกระดับสูง และ (4) ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีในการใช้บริการอโกด้า ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ ด้านการรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน และด้านทัศนคติที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการตัดสินใจใช้บริการอโกด้าของนักท่องเที่ยวชาวไทยเจเนอเรชั่นวายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัท อโกด้า--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการใช้บริการอโกด้าของนักท่องเที่ยวชาวไทยเจเนอเรชั่นวายth_TH
dc.title.alternativeFactors related to the use of Agoda Service among Thai tourist in generation Yen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the level of decision-making for using Agoda services among Thai tourists in generation Y; (2) to compare the differences in the decision to use Agoda services among Thai tourists in generation Y, classified by personal factors; and (3) to study the relationship of marketing-mix factors and Thai tourists in generation Y on decision-making to use Agoda service; and (4) to study the relationship of technology adoption to Thai tourists in generation Y on decision-making to use Agoda. The population of this survey research was Thai tourists in Generation Y using services at Agoda which the number was unknown, thus the sample size of 400 samples was calculated using the Cochran formula with the convenience sampling method. A questionnaire was used to collect data. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, One-way ANOVA and Pearson Correlation Coefficient The results of the study revealed that (1) the decision-making level of Thai tourists in generation Y to use Agoda services was at the highest level, (2) Thai tourists in generation Y with different gender, age, marital status, highest level of education, average monthly income, type of service, and frequency of using Agoda services had different levels of decision-making with a statistical significance at level 0.05 level, (3) the marketing-mix factors of Agoda services: product, price, distribution channel, marketing promotion, human resources, physical and procedural factors were correlated with Thai tourists' decision-making to use Agoda with a statistical significance at 0.01 level, with a positive correlation at a high level, and (4) technology adoption factors in using Agoda services in the aspect of perception of the benefits received and the attitude which eased the use of technology had correlation with Thai tourists' decision-making to use Agoda with a statistical significance at 0.01 level with a positive correlation at a high levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons