Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9583
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมคิด พรมจุ้ย | th_TH |
dc.contributor.author | สุรพล หยกฟ้าวิจิตร, 2511- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T03:10:38Z | - |
dc.date.available | 2023-09-18T03:10:38Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9583 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินวัตถุประสงค์ของหลักสูตรพุทธศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 2) ประเมินปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนา 3) ประเมินกระบวนการของหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา และ 4) ประเมินผลผลิตของหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร 64 รูป/คน อาจารย์ 113 รูป/คน นิสิต 216 รูป/คน นิสิตปฏิบัติศาสนกิจ 38 รูป และผู้ใช้บัณฑิต 25 รูป รวมจำนวนทั้งสิ้น 456 รูป/คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม และแบบบันทึกข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร มีความชัดเจน มีความเหมาะสมใน ระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน 2) ปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมใน ระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าผ่านเกณฑ์การประเมินมี 5 ด้านคือ ด้านโครงสร้างหลักสูตรโครงสร้างที่ 1 (วิชาเอก-โท) โครงสร้างหลักสูตรโครงสร้างที่ 2 (วิชาเอกเดี่ยว) ด้านรายวิชาในหลักสูตร ด้านคุณลักษณะของอาจารย์ และด้านคุณลักษณะความพร้อมของนิสิต ส่วน ด้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินคือ ด้านสิ่งสนับสนุนอื่นๆ 3) กระบวนการของหลักสูตร โดยภาพรวม มีความเหมาะสมในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมินมี 3 ด้านคือ ด้านการบริหารหลักสูตร ด้านการวัดและประเมิน ผล และด้านการปฏิบัติศาสนกิจ ของนิสิต ส่วนด้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินคือ ด้านการจัดการเรียนการสอน 4) ผลผลิตของ หลักสูตร พิจารณาจากจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาและจำนวนผู้ออกกลางคันพบว่า นิสิตรุ่นที่เข้าศึกษาใน ปีการศึกษา 2550 มีจำนวนทั้งสิ้น 918 รูป/คน มีผู้สำเร็จการศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 594 รูป/คน คิดเป็น ร้อยละ 64.71 ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของบัณฑิตพบว่าบัณฑิตมีผลการ เรียนเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 2.00 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ด้านความพึงพอใจในคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของบัณฑิต 9 ประการ โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.4 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พุทธศาสนา--การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | การประเมินหลักสูตร | th_TH |
dc.title | การประเมินหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of bachelor of arts programme in Buddhism, Mahachulalongkornrajavidyalaya University | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were : 1) to evaluate the objectives of Bachelor of Arts Program in Buddhism Mahachulalongkornrajavidyalaya University 2) to evaluate the input of Bachelor of Arts Program in Buddhism Mahachulalongkornrajavidyalaya University 3) to evaluate the process of Bachelor of Arts Program in Buddhism Mahachulalongkornrajavidyalaya University and 4) to evaluate the output of Bachelor of Arts Program in Buddhism Mahachulalongkornrajavidyalaya University. The sampling group were administrators 64, masters 113, students 216, students were practicum religious experience 38 and stakeholders consisted 25 of 456 persons in Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Instruments were the questionnaires and data inventory form The statistical for data analysis were the percentage, and standard deviation The result of this research found that : 1) the objectives of Bachelor of Arts Program in Buddhism were clear and suitable in the higher level 2) The input of Bachelor of Arts Program in Buddhism were classified into 6 factors was higher level. When we focused in each factor we were found that 5 factors passed the evaluation with the higher level such as the structure of the program in structure 1 (Major-Minor), structure 2 (Major), the subjects in the Program, teachers and students but one factors did not passed the evaluation as the fair level was another supporting such as handbook program books media educational instruments location and study resources. 3) The process of Bachelor of Arts Program in Buddhism evaluated into 4 factors and 3 factors were passed the evaluation with the higher level there were program management, evaluation, religion practice, but one factors did not passed the evaluation was learning and teaching management and 4) the output of Bachelor of Arts Program in Buddhisim evaluated into 3 factors such as the efficiency of the graduated productivity when we focused at the number of students who graduated and who left the programmed during their studying. In the academic year 2550, there were 918 students admitted to this program. There were 594 students graduated or 64.71 percent, did not passed the evaluation. The educational achievement of the students found that grade point average greater than or equal to 2.00 passed the evaluation. The satisfactory in the 9 sectors satisfied quality of graduated students was higher level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ทัศนีย์ ชาติไทย | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
128737.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License