Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9651
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีย์ เข็มทองth_TH
dc.contributor.authorธนกร ปัดสาพันธุ์, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T02:53:16Z-
dc.date.available2023-09-21T02:53:16Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9651en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาพรวมการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำปาง และ (2) เปรียบเทียบการเป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำปาง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 195 คน และพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัด ลำปาง จำนวน 135 คน ช่วงระหว่างเดือนมกราคม-เมษายน 2555 กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตร ของทาโร ยามาเน่ได้จำนวนทั้งสิ้น 184คน เป็นกลุ่มตัวอย่างพนักงานจากจังหวัดเชียงใหม่ 109คน พนักงานจากจังหวัดลำปาง 75 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วนตามประชากรของแต่ละจังหวัด เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1)การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงใหม่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับดี และทุกองค์ประกอบของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ พบว่าอยู่ในระดับดีเช่นกัน โดยเรียงตามลำดับได้ ดังนี้ การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน การคิดอย่างเป็นระบบ การเรียนรู้และพัฒนาความรู้ การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการพัฒนากรอบแห่งภูมิปัญญา ส่วนการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดลำปางโดยภาพรวมและทุกองค์ประกอบ อยู่ในระดับดีเช่นเดียวกัน โดยเรียงตามลำดับได้ ดังนี้ การคิดอย่างเป็นระบบ การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้และพัฒนาความรู้ การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการพัฒนากรอบแห่งภูมิปัญญา และ (2) ผลการเปรียบเทียบภาพรวมการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ระหว่างการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำปาง พบว่ามีสภาวะการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค--ไทย--เชียงใหม่--พนักงานth_TH
dc.subjectการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค--ไทย--ลำปาง--พนักงานth_TH
dc.subjectการเรียนรู้องค์การth_TH
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ระหว่างพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงใหม่ และพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeComparison study of learning organization between Provincial Electricity Authorities of Chiang Mai and Lampangen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims (1) to examine the overview of how the Provincial Electricity Authority in Chiang Mai and Lampang as learning organizations; and (2) to compare the degree to which the Provincial Electricity Authority in Chiang Mai and Lampang as learning organizations. This study used survey research to address these aims. In total, the population was 195 Provincial Electricity Authority staff in Chiang Mai and 135 Provincial Electricity Authority staff in Lampang during January–April 2012. Applying the Taro Yamane Formula yielded a total sample size of 184 Provincial Electricity Authority staff, comprised of 109 staff working in Chiang Mai and 75 staff working in Lampang. Proportional randomized sampling method classified by the population from each province was adopted with the research. Questionnaires were used as a tool for data collection, and statistics used for data analysis including frequency, percentage, mean, standard deviation and independent sample t-test. The findings of the study indicated that: (1) the overall of how the Provincial Electricity Authority in Chiang Mai functions as a learning organizations was at a good level and every component was also at a good level, ordered as follows: common vision, systematic thinking, learning and knowledge development, team learning and development of a wisdom framework. The overall of how the Provincial Electricity Authority in Lampang functions as a learning organization and all components were considered at a good level, ordered as follows: systematic thinking, common vision, learning and knowledge development, team learning and development of wisdom framework; and (2) there was no difference between Provincial Electricity Authority in Chiang Mai and Lampang in their overall functioning as learning organizations.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
132359.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons