Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9663
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมัทนา จุนเจือ, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T03:36:44Z-
dc.date.available2023-09-21T03:36:44Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9663en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะส่วนบุคคลของผู้ซื้อสินค้าผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (2) ศึกษาระดับความสำคัญของปัจยส่วนประสมทางการตลาดในการซื้อสินค้าผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (3) เปรียบเทียบความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการสำรวจคือผู้ที่เลือกซื้อสินค้าผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในเขตอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคืรีขันธ์ กำหนดขนาดตัวอย่างโดยไม่ทราบค่าจำนวนประชากรที่แน่นอน ได้กลุ่มตัวอย่าง 363 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในเก็บรวมรวมชัอมูล สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ สถิดิเชิงพรรณนา คือการแจกแจงความถี่และคำร้อยละ และสถิติเชิงอนุมาน คือ การทคสอบค่าที่และเอฟผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายร้อยละ 49.86 และเพศหญิงร้อยละ 50.14 ส่วนใหญ่มีอายุ 18-25 ปี มีสถานภาพใสด มีการศึกษาในระดับมัธยมปลาย/ปวช. มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชนและเป็นผู้มีรายได้ ต่ำกว่า 15,000 บาท (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการเลือกซื้อสินค้าในสภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าปัจจัยค้านผลิตภัณฑ์มีระดับความสำคัญมาก รองลงมาคือคือปังจัยค้านราคา ปัจจัยด้านการจัดจำหน่าย และปัจจัยค้านการส่งสริมการตลาด (3) การเปรียบเทียบความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล พบว่า ในภาพรวมปัจจัยส่วนประสมการตลาด จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการซื้อสินค้าทางไกลth_TH
dc.subjectการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectการตลาดอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการเลือกซื้อสินค้าผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.title.alternativeactors of the purchase toward via e-commerce a case study of consumers in Hua-Hin Prachuap Khiri Khan Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study the characteristics of customers purchased via e-commerce; (2) to study the level of marketing mix factors of purchasing via e-commerce; and (3) to compare the importance of marketing mix factors classified by personal characteristics. The study was a survey research. The total population was customers purchased via e-commerce in Hua-Hin district, Prachuap Khiri Khan province and the sample was 363 customers. The data was collected by using a questionnaire and was analyzed by using frequency, percentage, t-Test and F-test. The results showed that (1) customers were male 49.86% and female 50.14%, aged 18-25, single, high school-vocational degree, private company employee, and income less than 15,000 Baht; (2) overall the level of marketing mix factors of purchasing via e-commerce was high – product, price, place and promotion respectively; and (3) overall the importance of marketing mix factors classified by personal characteristics was not differenten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_148757.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons