Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9713
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจําเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorญาดา ทองศรี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-25T03:08:47Z-
dc.date.available2023-09-25T03:08:47Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9713-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษากระบวนการบริหาร ยุทธศาสตร์ของสํานักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน และ (2) เสนอแนะแนวทาง การพัฒนาการบริหารยุทธศาสตร์ของสํานักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ผู้บริหารและบุคลากรที่ปฏิบัติงานในสํานักงานบริหารแรงงาน ต่างด้าว จํานวน 27 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเพื่อการสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การ วิเคราะห์เนื้อหาและอธิบายในรูปแบบพรรณนาความ ผลการศึกษาพบว่า (1) กระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ของการบริหารแรงงานต่างด้าวอยู่ภายใต้ แผนยุทธศาสตร์ของกรมการจัดหางาน ซึ่งได้จัดทําให้สอดคล้องกับสถานการณ์และบริบทการเปลี่ยนแปลงด้าน แรงงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ การจัดทํายุทธศาสตร์ด้านการบริหารแรงงานต่างด้าว ใช้เทคนิคการ วางแผนเชิงกลยุทธ์โดยการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก การกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและดัชนีชี้วัด ในด้านการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ มีการประชุมชี้แจงทําความเข้าใจเพื่อให้ทุก ส่วนชี้แจงและดําเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน มุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสนับสนุนอย่างจริงจังของทุกส่วนงาน ส่งเสริมการทํางานแบบให้มีการประสานแนวราบ มีการจัดทําฐานข้อมูลและพัฒนาโครงข่ายข้อมูลข่าวสาร ระหว่างหน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคในการเข้าถึงระบบข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว และใช้ประโยชน์ได้สะดวก ส่วนการติดตามประเมินผล มีการจัดทําตัวชี้วัดต่อเป้าประสงค์ในระยะครึ่งแผนและ ระยะสิ้นสุด สําหรับปัจจัยหลักที่เป็นอุปสรรคในการดําเนินงาน ได้แก่ ปัจจัยที่อยู่นอกเหนือการควบคุม เช่น การ ปรับเปลี่ยนนโยบายทางการเมืองบ่อยครั้งส่งผลให้การกําหนดนโยบายและการปฏิบัติงานของสํานักบริหาร แรงงานต่างด้าวขาดความเป็นเอกภาพ และไม่ชัดเจนเพียงพอ และ (2) จากเดิมสํานักงานบริหารแรงงานต่าง ด้าวไม่มีแผนยุทธศาสตร์เฉพาะ ผู้ศึกษาจึงเสนอแนะแนวทางว่า ควรจัดทํายุทธศาสตร์ 5 แนวทาง ประกอบด้วย 1) การพัฒนาระบบบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวอย่างมีประสิทธิภาพ 2) การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงานเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 3) การสร้างความร่วมมือในทางวิชาการระหว่างเครือข่ายในระดับภูมิภาค 4) การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ 5) การพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นเลิศด้านการ บริหารจัดการด้านแรงงานระหว่างประเทศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักบริหารแรงงานต่างด้าว--การบริหารth_TH
dc.subjectการบริหารแรงงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการบริหารยุทธศาสตร์ของสำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงานth_TH
dc.title.alternativeStrategy management of the Office of Foreign Workers Administration Department of Employment, Minister of Labourth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to: (1) study the strategic management procedures of the Office of Foreign Workers Administration, Department of Employment, Ministry of Labour; and (2) recommend the guidance for developing the strategic management of the Office of Foreign Workers Administration, Department of Employment, Ministry of Labour. The study was a qualitative research. Population was a director and officials who have been working for the Office of Foreign Workers Administration totally 27 officials. The instrument was a questionnaire for in-depth interview. Data was analyzed on the basis of content and descriptive analysis. This study showed that: (1) strategic management procedures of foreign workers administration was under strategic plans Department of Employment which have been made in accordance with labour situation and changing context both domestically and internationally. Strategic management formulation was done by analyzing internal and external environmental factors, set up vision, missions, goals and indicators. The implementation aspect, at the commencement there was meetings explained to relevant sectors to understand and carried out the project in the same way, result-based management under the collaboration from all sectors. The promotion of flat coordination was suggested. Database and information networking between focal organs and regional offices had been established to access information of foreign workers administration and other utilization. Monitoring and evaluation aspect, indicators were set up in accordance with ultimate goals in half project plan and the termination. Main problems of implementation was some over control factor such as the change of cabinet and national policy often would affect the policy and implementation of foreign workers administration, lack of unity and unclear; and (2) in the past, there was no specific strategic plan of the Office of Foreign Workers Administration. Therefore, recommendations were there should formulate 5 strategies namely 1) efficient foreign workers administration system development 2) the procedure development and improvement for effective administration 3) enhancing of regional technical networks 4) administrative information system development 5) the development to high performance organization on foreign workers administrationen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147897.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons