Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/974
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนา หาญพลth_TH
dc.contributor.authorสุกัญญา พงศ์ภัสสร, 2509-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T08:45:31Z-
dc.date.available2022-08-23T08:45:31Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/974en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาการรับรู้สารสนเทศของผู้รับผิดชอบโครงการ อาหารกลางวันแบบยั่งยืน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรีในด้านบริหารและกระบวนการ ด้านกิจกรรมกระบวนการผลิตอาหาร ด้านกิจกรรมประกอบอาหาร ด้านปัจจัยตัวชี้วัดทางด้านสาธารณสุข ด้านปัญหาการรับรู้แหล่งสารสนเทศและด้านปัญหาประเภทสารสนเทศ (2) เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้สารสนเทศของผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนจำแนกตามตำแหน่งบทบาทและเขตพื้นที่การศึกษา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วยผู้บริหาร ครูผู้รับผิดชอบ โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนด้านการเกษตร (การผลิตอาหาร) ด้านการประกอบอาหารกลางวัน และด้านอาชีวอนามัยของโรงเรียนที่เขาร่วมโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เขต 2 รวม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่รัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) การรับรู้สารสนเทศเกี่ยวกับโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนด้านการบริหารและกระบวนการ ด้านกิจกรรมประกอบอาหาร ต้านปัจจัยตัวชี้วัดทางด้านสาธารณสุขทุกข้ออยู่ในระดับมาก ส่วนด้านกิจกรรมกระบวนการผลิตอาหาร ด้านปัญหาแหล่งสารสนเทศและด้านปัญหาประเภทสารสนเทศทุกข้ออยู่ในระดับปานกลาง (2) การเปรียบเทียบการรับรู้สารสนเทศจำแนกตามตำแหน่งหนัาที่ ผลการวิจัยพบว่าผู้รับผิดชอบที่อยู่ในตำแหน่งหน้าที่ที่แตกต่างกันได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนด้านการเกษตร (การผลิตอาหาร) ด้านการประกอบอาหาร และด้านอาชีวอนามัยมีการรับรู้สารสนเทศ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านบริหารและกระบวนการ ด้านกิจกรรมประกอบอาหาร ด้านปัจจัยตัวชี้วัดทางด้านสาธารณสุข และด้านปัญหาการรับรู้แหล่งสารสนเทศโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนและการเปรียบเทียบการรับรู้สารสนเทศโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนจำแนกตามเขตพื้นที่การศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนที่อยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาต่างกัน มีการรับรู้สารสนเทศโดยรวมไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนth_TH
dc.subjectสารสนเทศth_TH
dc.subjectการรับรู้th_TH
dc.titleการรับรู้สารสนเทศของผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeInformation perceived by organizers in the sustainable food bank project of Phetchaburi College of Agriculture and Technologyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed (1) to study information perceived by organizers m the Sustainable Food Bank Project of Phetchaburi College of Agriculture and Technology in the areas of administration and processing, food producing process activity, cooking activity, health indicator factor and the problems of information perception about information sources and types, and (2) to compare the perception of responsible persons on the Sustainable Food Bank Project as classified by work position and educational area. This research was survey research. The 196 samples consisted of the administrators, teachers who were responsible for the Sustainable Food Bank Project m agriculture (food production), cooking activity and health hygiene, who participated in the Sustainable Food Bank Project in the schools under the office of educational areas in Petchaburi Province, Samut Songkhram Province, and Prachuap Khin Khan Province Area 2. Data were collected by using the questionaires and analyzed by using frequency, percentage, means, standard deviation and one-way analysis of variance (ANOVA). The results of the research indicated that (1) information perception on the Sustainable Food Bank Project in the areas of administration and processing, cooking activity and all indicators factors of health were at the high level. in the areas of food producing process and perception problems of information sources and types, all items were at the moderate level. (2) The result of comparing the perception of information classified by position showed that responsible persons in different duties such as the administrators, teachers who were responsible for the Sustainable Food Bank Project in agriculture (food production), cooking activity and health hygiene, perceived and encountered problems differently, statistically significant at the 0.5 level of the administrative process, cooking activity, health indicator factor and problems of information sources perception for the Sustainable Food Bank Project. When comparing the overall information perception of the Sustainable Food Bank Project classified by educational areas, the results showed that information perception of the organizers in the Sustainable Food Bank Project in different educational areas was the sameen_US
dc.contributor.coadvisorธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.coadvisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (17).pdfเอกสารฉบับเต็ม17.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons