Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9772
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุนิสา อ่อนสี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-27T04:20:29Z-
dc.date.available2023-09-27T04:20:29Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9772-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการเป็น องค์การแห่งการเรียนรู้ของบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จํากัด (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากร เกี่ยวกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จํากัด จําแนกตามคุณลักษณะส่วน บุคคลและ (3) เสนอแนะแนวทางส่งเสริมการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จํากัด การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานระดับ ปฏิบัติการของบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จํากัด จํานวน 1,014 คน โดยกลุ่มตัวอย่างได้จากการคํานวณตาม สูตรของ ทาโร ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 287 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่ายตามจํานวนที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม โดยมีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างทาง นัยสําคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรของบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จํากัด มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ตามแนวคิดของ ปี เตอร์ เอ็ม. เซ็งกี้ ทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก โดย เรียงลําดับจากมากที่สุด คือ ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ด้านแบบแผน ความคิด ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ และด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (2) บุคลากรบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จํากัด ที่มี เพศ สถานภาพการสมรส และตําแหน่งงานที่รับผิดชอบแตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน ส่วนบุคลากรที่มี อายุระดับการศึกษาสูงสุด อายุ การทํางานในบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จํากัด และรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) ข้อเสนอแนะ เพื่อเป็นแนวทางส่งเสริมการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จํากัด ได้แก่ ควรจัด ให้มีการจัดอบรมบุคลากรในองค์การ เปิดโอกาสให้บุคลากรทุกคนมีสิทธิ์ในการออกเสียงแสดงความ คิดเห็น มีการจัดกิจกรรมร่วมกันของคนในองค์การ เช่น จัดให้มีกีฬาสี งานรื่นเริงต่างๆ เพื่อให้เกิด กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันภายในองค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทช.การช่าง (ลาว) จำกัด--พนักงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการบริหารองค์การth_TH
dc.titleความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จำกัดth_TH
dc.title.alternativeEmployees opinion towards learning organization at Ch.Karnchang (Lao) Company Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study the level of employees opinion towards learning organization at Ch.Karnchang (Lao) Company Limited; (2) to compare employees opinion towards learning organization at Ch.Karnchang (Lao) Company Limited by personal characteristic; and (3) to suggest guidelines for enhancing learning organization at Ch.Karnchang (Lao) Company Limited. This study was a survey research. The population consisted of 1,014 Ch.Karnchang (Lao) Company Limited employees. The sampling size was 287 employees calculated by Yamane’s formula. Questionnaires were used in data collection process with reliability value of 0.95. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, one-way ANOVA (Analysis of Variance) and LSD (Least Significant Difference). The result revealed that: (1) the opinion towards learning organization of employees at Ch.Karnchang (Lao) Company Limited according to Peter M Senge 5 learning disciplines were at a high level, which were ranked in order from shared vision, personal mastery, mental models, systems thinking and team learning respectively; (2) there were no significant difference of the opinion towards learning organization of employees as per gender, marital status and work position. However age, educational level, work duration and income at significant difference level of 0.05; and (3) as for suggestion guidelines to enhance learning organization the employees training program should be established in the organization, all communication channels should be opened to all personnel, social activities such as sports and entertainment activities should be encouraged for learning and sharing knowledgeen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
149017.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons