กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9835
ชื่อเรื่อง: ประสิทธิผลการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาอาชีพผู้ประกอบอาหารไทยของสำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The effectiveness of the national skill standards test of Thai Cook of the Office of Instructor and Training Technology Development, Department of Skill Development
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: พนมพัทธ์ สมิตานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา
จรรยานิตย์ ทองบริบูรณ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แรงงานฝีมือ--มาตรฐาน.--ไทย
แรงงานฝีมือ--การทดสอบ.--ไทย
ผู้ประกอบการ--ไทย
อาหารไทย
การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ
วันที่เผยแพร่: 2558
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประสิทธิผลการดําเนินการทดสอบ มาตรฐานฝี มือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาอาชีพผู้ประกอบอาหารไทยของสํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการดําเนินงานของกระบวนการทดสอบมาตรฐาน ฝี มือแรงงานแห่งชาติกับประสิทธิผลการดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงานแห่งชาติในสาขาอาชีพผู้ประกอบ อาหารไทย ของสํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และ(3) เสนอแนะแนวทางในการ ดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาอาชีพผู้ประกอบอาหารไทย ของสํานักพัฒนาผู้ฝึกและ เทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ประชากรที่ ศึกษา คือผู้เข้ารับการทดสอบ มาตรฐาน ฝีมือแรงงาน แห่งชาติ สาขาอาชีพ ผู้ประกอบอาหารไทย ณ สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 (ตุลาคม 2558 –กันยายน 2559) จํานวน 301 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดย ใช้สูตรทาโร ยามาเน่ ณ ระดับความเชื่อมัน 95% ได้จํานวน 172 คน การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ภาพรวมของประสิทธิ ผลการดําเนินการทดสอบฯ อยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านสมรรถนะผู้เข้าทดสอบฯ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาเป็น ด้านการ นําไป ใช้ประโยชน์ในการประกอบ อาชีพ และด้านความ พึงพอใจการเข้ารับบริการที่หน่วยงาน (2) ปัจจัยด้านการดําเนินงานของกระบวนการทดสอบมาตรฐานฝี มือแรงงานแห่งชาติมีความสัมพันธ์กับ ประสิทธิผลการดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาอาชีพผู้ประกอบอาหารไทย ของ สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกปัจจัยในเชิงบวกที่ ระดับสูงมาก เมื่อพิจารณารายปัจจัย พบว่า ปัจจัยที่ 4 การประกาศผลการทดสอบและออกหนังสือรับรองว่าเป็นผู้ผ่านการทดสอบ มี ความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการดําเนินการทดสอบฯ ในเชิงบวกที่ระดับสูงมากเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาเป็นปัจจัย ที่ 2 การเตรียมการทดสอบฯ (3) ข้อเสนอแนะที่พบมากที่สุด คือ ควรมีการปรับปรุงข้อสอบให้เป็นปัจจุบัน รองลงมาเป็น ควรเพิ่มหลักเกณฑ์ในการตัดสินคะแนนด้านรสชาต
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9835
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
151903.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.91 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons