Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9835
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนมพัทธ์ สมิตานนท์th_TH
dc.contributor.authorจรรยานิตย์ ทองบริบูรณ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-02T03:03:24Z-
dc.date.available2023-10-02T03:03:24Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9835en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประสิทธิผลการดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาอาชีพผู้ประกอบอาหารไทยของสํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึกกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการดําเนินงานของกระบวนการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติกับประสิทธิผลการดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงานแห่งชาติในสาขาอาชีพผู้ประกอบอาหารไทย ของสํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และ(3) เสนอแนะแนวทางในการดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาอาชีพผู้ประกอบอาหารไทย ของสํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงานประชากรที่ ศึกษา คือผู้เข้ารับการทดสอบ มาตรฐาน ฝีมือแรงงาน แห่งชาติ สาขาอาชีพผู้ประกอบอาหารไทย ณ สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 (ตุลาคม 2558 –กันยายน 2559) จํานวน 301 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดย ใช้สูตรทาโร ยามาเน่ ณ ระดับความเชื่อมัน 95% ได้จํานวน 172 คน การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ภาพรวมของประสิทธิ ผลการดําเนินการทดสอบฯ อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านสมรรถนะผู้เข้าทดสอบฯ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาเป็น ด้านการนําไปใช้ประโยชน์ในการประกอบ อาชีพ และด้านความ พึงพอใจการเข้ารับบริการที่หน่วยงาน (2) ปัจจัยด้านการดําเนินงานของกระบวนการทดสอบมาตรฐานฝี มือแรงงานแห่งชาติมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาอาชีพผู้ประกอบอาหารไทย ของสํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ทุกปัจจัยในเชิงบวกที่ ระดับสูงมาก เมื่อพิจารณารายปัจจัย พบว่า ปัจจัยที่ 4 การประกาศผลการทดสอบและออกหนังสือรับรองว่าเป็นผู้ผ่านการทดสอบ มี ความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการดําเนินการทดสอบฯ ในเชิงบวกที่ระดับสูงมากเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาเป็นปัจจัยที่ 2 การเตรียมการทดสอบฯ (3) ข้อเสนอแนะที่พบมากที่สุด คือ ควรมีการปรับปรุงข้อสอบให้เป็นปัจจุบัน รองลงมาเป็นควรเพิ่มหลักเกณฑ์ในการตัดสินคะแนนด้านรสชาตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกรมพัฒนาฝีมือแรงงานth_TH
dc.subjectแรงงานฝีมือ--มาตรฐาน--ไทยth_TH
dc.subjectแรงงานฝีมือ--การทดสอบ--ไทยth_TH
dc.subjectผู้ประกอบการ--ไทยth_TH
dc.subjectอาหารไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleประสิทธิผลการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาอาชีพผู้ประกอบอาหารไทยของสำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงานth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of the national skill standards test of Thai Cook of the Office of Instructor and Training Technology Development, Department of Skill Developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study were to study (1) The effectiveness of the National skill standards test of Thai Cook of The office of instructor and training technology development, Department of skill development (2) The relationship between the operation process of the National skill standards test with the effectiveness of the National skill standards test of Thai Cook of The office of instructor and training technology development, Department of skill development (3) Recommendation on the implementation test of the National Skill Standards. The population was who attend the National Skill Standards Test of Thai Cook at The office of instructor and training technology development, Department of skill development in fiscal year 2016 (October 2015 – September 2016) total 301 persons. The sample size was determined by using a formula Taro Yamane at a confidence level of 95% of the 172 persons from Accidental Sampling. The study instrument was a questionnaire. Statistical analysis was descriptive statistic consist of percentage, mean, frequency, standard deviation and Pearson correlation coefficient. The results revealed that (1) most of the overview of the test was the highest level. When considering each of the part found that the competencies of testers were the highest level, the utilization of occupation and the satisfaction of the service agencies respectively. (2) The operation process of the National skill standards test had a relationship with the effectiveness of the National skill standards test of Thai Cook of The office of instructor and training technology development, Department of skill development showed all positive factors at very high level. When considering each of factors found that the 4th factor which is an announcement and issue a certificate had the most of the relationship with the effectiveness of the National skill standards test and the 2nd factor which is the preparation process. (3) The most common suggestion should be an improvement to the current exam and the secondary should be the criteria for judging the taste respectively.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151903.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons