Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9907
Title: | การเคลื่อนไหวของกลุ่มต่อต้านที่มีผลต่อการกำหนดนโยบายการเปิดสัมปทานปิโตเลียม ครั้งที่ 21 |
Other Titles: | Movement of opposition groups affecting the policy of opening the 21st petroleum concession bidding round |
Authors: | วรวลัญช์ โรจนพล ชวลิต ปันทะรส, 2530- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณี สัมปทานทานปิโตเลียม การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง |
Issue Date: | 2558 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) รูปแบบการเคลื่อนไหวของกลุ่มต่อต้าน นโยบายการเปิดสัมปทานปิโตรเลียม ครั้งที่ 21 (2) ประเด็นข้อคัดค้านของกลุ่มต่อต้านนโยบายการ เปิดสัมปทานปิโตรเลียม ครั้งที่ 21 และ (3) การเคลื่อนไหวของกลุ่มต่อต้านที่มีผลต่อการกำหนด นโยบายการเปิดสัมปทานปิโตรเลียม ครั้งที่ 21 ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบการเคลื่อนไหวของกลุ่มต่อต้าน คือ การใช้สื่อสังคม ออนไลน์ การชุมนุมประท้วง และการร่วมอภิปรายกับหน่วยงานของรัฐ (2) ประเด็นข้อคัดค้านของ กลุ่มต่อต้านสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเด็น คือ ความบกพร่องของระบบการให้สัมปทาน ผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน และความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลจากหน่วยงานรัฐ (3) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ควบคู,ไปกับการเคลื่อนไหวในสังคมจริงส่งผลทำให้กระทรวงพลังงาน ต้องการมีปรับนโยบายเป็นระยะๆ จนท้ายที่สุดแล้วในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 กระทรวงพลังงาน จึงไต้มีการตัดสินใจประกาศชะลอการยื่นคำขอสิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียมสำหรับแปลงสำรวจ บนบกและอ่าวไทย ครั้งที่ 21 ออกไปก่อน |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9907 |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
148705.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License