Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9943
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ | th_TH |
dc.contributor.author | ชูศักดิ์ จันทร์รัตน์, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-16T04:15:07Z | - |
dc.date.available | 2023-10-16T04:15:07Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9943 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แนวความคิดทางสังคมการเมืองที่ปรากฎใน ละครโทรทัศน์ เรื่อง เปาบุ้นจิ้น (2) เสนอแนวทางการประยุกต์ใช้แนวความคิดทางสังคมการเมืองในละคร โทรทัศน์ เรื่อง เปาบุ้นจิ้น ผลการวิจัยพบว่า (1) แนวความคิดทางสังคมการเมืองในละครโทรทัศน์เรื่อง เปาบุ้นจี้น คือ 1) ถ่ายทอดแนวความคิดเกี่ยวกับความยุติธรรมในรูปแบบการยึดหลักความถูกต้องตามศีลธรรมบน พื้นฐานของคุณธรรม และจริยธรรม ความสมเหตุสมผลของกฎหมาย ความเที่ยงธรรม และความเป็นธรรม ตลอดจนการบังคับใช้กฎหมายโดยคำนึงถึงสิทธิของพลเมืองทั้งหลายโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ศาสนา ความพิการ ความยากดีมีจนและชนชั้นวรรณะในสังคม 2) เปาบุ้นจิ้น ยังยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาลที่สำคัญ 6 ประการ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารการปกครองบ้านเมือง คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความถูกต้องโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน หลัก สำนึกรับผิดชอบ หลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล (2) เกี่ยวกับแนวทางการประยุกต์ใช้แนวความคิด พบว่า 1) แนวความคิดทางสังคมการเมืองที่ปรากฏในละครโทรทัศน์ เรื่อง เปาบุ้นจิ้น สามารถนำไป ประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางสำหรับปฏิรูปการเมืองไทยและระบบราชการของ ไทยในปัจจุบันไต้ 2) การ ปฏิรูปการเมืองที่แท้จริงควรมุ่งปฏิรูปที่โครงสร้างการใช้อำนาจของผู้มีอำนาจทางการเมืองและโครงสร้าง ทางสังคมควบคู่กันไปกับการปฏิรูประบอบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบันที่ยังมีข้อบกพร่องและเกิด ปัญหาการทุจริต คอรัปชั่น อย่างกว้างขวาง 3) การขาดความเชื่อมั่นต่อกระบวนการยุติธรรมของ ประชาชน และการขาดประสิทธิภาพและความสามารถของระบบการเมืองในการแก้ไขปัญหาของสังคม ตลอดทั้งปัญหาของระบบการเมืองไทยที่มีการทุจริต คอรัปชั่นและประพฤติมิชอบในวงราชการและ การเมืองเป็นปัญหาหลักเรื้อรังที่สะสมมานาน ไม่อาจแก้ไขได้อย่างรวดเร็วและเบ็ดเสร็จ การปฏิรูประบบราชการและการปฏิรูปทางการเมืองด้วยการเสริมสร้างกระบวนการปลูกฝังระบบคุณธรรม จริยธรรม จึงเป็นมาตรการสำคัญเร่งด่วนที่จะช่วยแก้ไขสภาพปัญหานี้ให้ลดน้อยลงหรือหมดไปในที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 3 | th_TH |
dc.subject | ละครโทรทัศน์--ไทย | th_TH |
dc.subject | สังคม--แง่การเมือง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง | th_TH |
dc.title | แนวความคิดทางสังคมการเมืองที่ปรากฏในละครโทรทัศน์ : กรณีศึกษาเรื่อง "เปาบุ้นจิ้น" เวอร์ชั่นที่นำมาฉายทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ระหว่างปี พ.ศ. 2538-พ.ศ.2559 | th_TH |
dc.title.alternative | Social and political concept of television drama : a case study of the Pao Bun Jin which Broadcasted by Thai Television Channel 3 between 1995 - 2016 B.C. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are (1) to study the social and political concept of a drama television series, named “Justice Pao” and (2) to propose the application of social and political concept of TV Drama, named “Justice Pao”. The qualitative approach was used in this research. Data collection were gathered from 236 episodes of Justice Pao and in-depth interview with the specialists. Then the data were analyzed using a content analysis method and a descriptive analysis method. This research found that (1) the social and political concept of “Justice Pao” could be concluded into two points. Firstly, the concepts of justice based on morality, ethics, reasonable law, equity and fairness were conveyed to political society. The law enforcement could be linked to civil rights and anti-discrimination (due to basis of race, color, religion, disability, or national origin). Secondly, Justice Pao implemented the six principles of good governance practice including: the rule of law, morality, accountability, participation, responsibility and cost-effectiveness/economy. (2) There are three major applications of social and political concept based on Justice Pao. Firstly, the social and political concept of TV Drama, named “Justice Pao” could be applied to reform Thai politics and administrative. Secondly, the political reform should be implemented together with the political authorities, social structure and democratic reform in order to minimize the political problems especially corruption. Thirdly, while people lacked of confidence in the justice process, the political system also did not have enough efficiency and capability to solve social and political problems. Further Thai political problems had accumulated for a long time and could not be solved immediately. Thus, moral development should be urgently implemented for political and administrative reform in order to minimize these problems. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
154872.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License