Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/995
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รสลิน ศิริยะพันธุ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ทศพงษ์ ตระกูลโชคอำนวย, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-25T06:36:42Z | - |
dc.date.available | 2022-08-25T06:36:42Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/995 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ (1) ปัจจัยทางการเมืองที่ส่งผลให้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัวทรงมีพระราชดำริโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังสนามจันทร์ (2) ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ที่ส่งผลให้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัว ทรงเลือกจังหวัดนครปฐมเป็นสถานที่สร้างพระราชวังสนามจันทร์ (3) ความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ของพระราชวังสนามจันทร์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัว วิธีการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการศึกษาวิจัยทางประวัติศาสตร์นำเสนอข้อมูลแบบพรรณนา และพรรณนาวิเคราะห์ โดยศึกษาข้อมูลหลักฐานจากเอกสารชั้นต้น และเอกสารชั้นรอง พร้อมเสริมด้วยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ พระราชวังสนามจันทร์และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัว จำนวน 8 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยทางการเมืองที่ส่งผลให้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัวทรงมี พระราชดำริโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังสนามจันทร์ ได้แก่ ปัจจัยทางการเมืองภายนอกประเทศ อันเนื่องมาจากปัญหาภัยคุกคามจาก อังกฤษ และฝรั่งเศส ที่ทำให้ไทยต้องเสียดินแดนให้กับมหาอำนาจทั้งสองนี้ไป ในระหว่าง พ.ศ. 2410-2452 (ค.ศ.1867-1909) รวมทั้งสิ้น 7 ครั้ง คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 518,700 ตารางกิโลเมตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์การเสียดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง พ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893) ส่วนปัจจัยทางการเมืองภายในประเทศ อันเนื่องมาจากปัญหาความขัดแย้งกับทหารและความขัดแย้งในราชวงศ์ ไม่มีผลต่อแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัว ในการสร้างพระราชวังสนามจันทร์ (2) ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ส่งผลให้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัวทรงเลือกจังหวัดนครปฐมเป็นสถานที่สร้างพระราชวังสนามจันทร์ ได้แก่ ที่ตั้งอาณาเขต ทรัพยากร ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ และอุปสรรคทางธรรมชาติ (3) ความสำคัญเชิงการเมืองของพระราชวังสนามจันทร์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัว ได้แก่ ความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง คือ การเป็นฐานที่มั่นสำรอง ค่ายหลวงซ้อมรบ เสือป่า และสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งในการปลูกฝังอุดมการณ์ชาตินิยม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์. | th_TH |
dc.subject | พระราชวังสนามจันทร์ -- แง่การเมือง | th_TH |
dc.title | ความสำคัญเชิงการเมืองของพระราชวังสนามจันทร์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว | th_TH |
dc.title.alternative | The political significance of Sanam Chandra Palace during the reign of King Rama VI | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to study and analyze: (1) the political factors that influenced King Rama VI’s decision to build the Sanam Chandra Palace; (2) the geopolitical factors that influenced King Rama VI’s choice of Nakhon Pathom as the location for the Sanam Chandra Palace; (3) the strategic significance of Sanam Chandra Palace in terms of national security during the reign of King Rama VI. This was a qualitative research based on a historical study method. Data were analyzed and presented descriptively. Data came from primary and secondary documents and from interviews with 8 key informants who were knowledgeable experts on the Sanam Chandra Palace and on King Rama VI The results showed that: (1) In his decision to build Sanam Chandra Palace, King Rama VI was mainly influenced by international political factors, especially the threat of the expanding British and French empires, because the Kingdom of Siam had given up territory to these two powers 7 times from 1867-1909, for a total of 518,700 square kilometers. The loss of the land to the left of the Mekhong River in 1893 was a particularly decisive factor. Domestic political factors, such as conflicts within the royal family and conflicts with the military, did not influence the king’s decision to build the palace. (2) The geopolitical factors that influenced King Rama VI’s choice of Nakhon Pathom as the location for the Sanam Chandra Palace were the location, the boundaries, the resources, the geography, the climate, and natural impediments. (3) The Sanam Chandra Palace was strategically significant during the reign of King Rama VI because it was a reserve stronghold, it was a site for the royal army to practice and it was a place to build up nationalism | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รุ่งพงษ์ ชัยนาม | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib130274.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 25.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License