Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9965
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพงษ์พันธ์ โตสกุลไกร, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-10-18T02:42:50Z-
dc.date.available2023-10-18T02:42:50Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9965-
dc.description.abstractการศึกษาการจัดตั้งคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจำจังหวัด (ป.ป.จ.) วัตถุประสงค์เพื่อ (1) ทราบถึงแนวคิดในการจัดตั้งคณะกรรมการ ป.ป.จ. (2) ศึกษาผลการดำเนินงานของ คณะกรรมการป.ป.จ. ในการขับเคลื่อนงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในส่วนภูมิภาค และ (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของคณะกรรมการ ป.ป.จ. และแนวทางในการแก้ไข ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดในการจัดตังคณะกรรมการ ป.ป.จ. มาจากการทีรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กำหนดให้มี (1.1) การกระจายอำนาจด้านการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตไปในจังหวัด (1.2) เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนในพื้นที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมและ ช่วยแกไขปัญหาการทุจริตในพื้นที่จังหวัดต่างๆ ของประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรม แต่เมื่อได้ดำเนินการ ไปแล้วผลปรากฏว่าการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ป.ป.จ. ได้เกิดปัญหาขึ้นในการปฏิบัติงาน งานในพื้นที่ เนื่องจาก (2.1) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.จ. ไม่ได้เป็นการกระจายอำนาจด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฯ หากแต่เป็นการแบ่งอำนาจด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไปให้ คณะกรรมการ ป.ป.จ. ทำหน้าที่ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ของตนเอง ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (2.2) การเกิดปัญหาบริหารจัดการทำให้ การปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ป.ป.จ. ไม่สามารถบรรลุเป้าประสงค์ที่กำหนดไว่ได้ สำหรับแนวทาง การแก้ไขปัญหาจะต้องมี (3.1) การกระจายอำนาจด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต โดยใน บางกรณีที่ไม่มีความซับซ้อนต้องมอบให้หน่วยงานหรือองค์กรด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในพื้นที่ได้มีอิสระในการดำเนินงานได้เอง (3.2) ควรมีกระบวนการเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนได้ เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในพื้นที่ (3.3) ควรมีการพัฒนาและนำเทคโนโลยี สารสนเทศมาปรับใช้ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตให้มากยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มความสะดวก สำหรับภาคประชาชนในการช่วยตรวจสอบและร่วมแกไขปัญหาการทุจริตในพื้นที่ต่างๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติth_TH
dc.subjectการทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมือง--ไทย--การป้องกันth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleแนวคิดในการจัดตั้งคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจำจังหวัด (ป.ป.จ.)th_TH
dc.title.alternativeThe concept of the establishment of the Provincial Anti-Corruption Commissionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
157807.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons