Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11176
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำลอง นักฟ้อน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสนธิรัก เทพเรณู, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเสาวภา บูชาธรรม-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-19T03:32:43Z-
dc.date.available2024-01-19T03:32:43Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11176-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (I)เพื่อศึกษาบทบาทของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาเกี่ยวกับการ บริหารจัดการศึกษาในเขตพื้นที่บริการของสำนักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาที่ 1,2, และ 3 (2) เพื่อ เปรียบเทียบบทบาทของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาในเขตพื้นที่บริการของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาที่ 1,2, 3 กระทรวงศึกษาธิการ จำแนกตามความคิดเห็นของแต่ละ องค์ประกอบของคณะกรรมการฯ และจำแนกตามเขตพื้นที่บริการของสำนักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการ การศึกษา (3) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาในการ บริหารจัดการศึกษาในเขตพื้นที่บริการของสำนักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณการการศึกษาที่ 1,2,3 กระทรวงศึกษาธิการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาในเขตพื้นที่บริการของสำนักบริหารยุทธศาสตร์ และบูรณาการการศึกษาที่ 1,2, 3 จำนวน 48 เขตพื้นที่ 264 คนได้มาโดยการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตาราง ของเครจซี่และมอร์แกน และใช้การสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบ มาตรประมาณค่า ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นมีความเที่ยง .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนและการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับการดำเนินการตามบทบาทที่กำหนดไว้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และบทบาทตามพระราชบัญญัติและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา แต่ละองค์ประกอบมีระดับการดำเนินการ ตามบทบาทแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ สำนักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษา มีระดับการดำเนินการตามบทบาทแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 และ (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะ การดำเนินการตามบทบาทตามลำดับ ได้แก่ ควรมีการยุบรวมสถานศึกษาที่อยู่ใกล้เคียงกัน ควรมีการจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างบุคลากรทางการศึกษาเพื่อเกิดสัมพันธภาพที่ดี ควรมีการจัดอบรมสัมมนาเพื่อพัฒนาคุณภาพของบุคลากร ขององค์การบริหารส่วนตำบลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.258-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.titleบทบาทของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาในเขตพื้นที่บริการสำนักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาที่ 1, 2, 3 กระทรวงศึกษาธิการth_TH
dc.title.alternativeThe roles of educational region committee on educational administration and management in the office of strategy management and educational integration No 1, 2, and 3, Ministry of Educationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.258-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe sample in this research were educational region committee on The purpose of this research were to : (1) Study roles of educational region committee on Educational at Ministration and management in the office of strategy management and Educational integration no. 1, 2 and 3 ministry of education; (2) compare the roles of educational region committee on Educational of ministration and management in the office of strategy management and Educational integration no. 1, 2, and 3 ministry of education. Ministry of Education separates to follow the opinion of each on element of committee in the administration manage to study in the office area serves administrates the strategy and education integration no. 1, 2 and 3 Ministry of Education; (3) study problems and suggestions about the roles of educational region committee on Educational at Ministration and management in the office of strategy management and Educational integration no. 1, 2 and 3 ministry of education; Educational at Ministration and management in the office of strategy management and Educational integration no. 1, 2 and 3 ministry of education, 48 area and 264 persons have com to by size sample specification follows the table of Krejeie and Morgan and use random easily, a tool that use in the saving collects the data is the questionnaire, the meter about the value. The researcher to have .95 statistics accuracies that uses in data analysis for example, average, standard deviation, ANOVA, and Scheffe method for pair-wise comparison. Research findings were as follows: (1) Administration level follows a role that notes to follow act of Education National Legislation, 2542 Buddhist Eras (B.E.) and that correct to add, (at 2) and a role follows the act legislation and other law at relate in the over all image are in overage. (2) Area education committee, each an element is high class the administration follows different role, the statistics that .05 and on office administrate the strategy and education integration are high class the administration follows different role important statistics way the .05 level. (3) A problem and the suggestion, the administration, for examples, be supposed to the contraction totals up location school is similar to is supposed to activity arrangement accompanies with between way education personnel for good relations, be supposed to the arrangement trains the seminar for develops the quality of the personnel of an organization administrates Tumbol parten_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons