กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11217
ชื่อเรื่อง: ผลของวิธีจำกัดอาหารไก่ไข่ระยะสุดท้ายต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Effects of feed restriction at the last stage of egg production on laying hen performance and egg quality
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ศิริลักษณ์ วงส์พิเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษา
จิตติมา กันตนามัลลกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา
ปิยพร บูรณะ, 2529-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
คำสำคัญ: ไก่ไข่--ต้นทุนการผลิต
ไก่ไข่--การเลี้ยง
ไก่--ไข่--การผลิต
วันที่เผยแพร่: 2561
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของวิธีจำกัดอาหารไก่ไข่ระยะสุดท้ายต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ คุณภาพไข่ และต้นทุนค่าอาหารในการผลิตไข่ไก่ การวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่าง ไก่ไข่ จำนวน 480 ตัว เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ความแปรปรวนเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย สรุปผลการวิจัย พบว่า ไก่ไข่ที่ได้รับการให้กินอาหารตามทรีตเมนต์ T1-T5 ส่วน T3 ที่จำกัดอาหารที่ให้ไก่กินร้อยละ 90 มีผลให้ไก่อาหารน้อยกว่าในทรีตเมนต์อื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) แต่ให้ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ดีกว่า ที่ผลิตได้ทรีตเมนต์อื่นๆ วิธีการจำกัดอาหารในทรีตเมนต์ ไม่มีผลต่อจำนวนไข่ที่ผลิตได้ น้ำหนักไข่ สำหรับต้นทุนค่าอาหารต่อผลผลิตไข่ 1 กิโลกรัมพบว่า ต้นทุนค่าอาหาร 20.44 บาทต่อผลผลิตไข่ 1 กิโลกรัม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนต้นทุค่าอาหารต่อไข่ 1 ฟองพบว่าทุกทรีตเมนต์มีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ.0 2 4 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11217
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Agri-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons