Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11509
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเก็จกนก เอื้อวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนูไรนี เศรษฐสุข, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-19T07:45:31Z-
dc.date.available2024-02-19T07:45:31Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11509-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยคัดสรรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2) การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรที่เกี่ยวข้องและการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ 4) ปัจจัยคัดสรรที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดสตูลตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูและผู้ดูแลเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดสตูล จำนวน 184 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ จากนั้นสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามขนาดของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยคัดสรรที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประกอบด้วย 4 ปัจจัย ได้แก่ ด้านลักษณะโครงสร้างองค์กร ด้านภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และด้านวัฒนธรรมองค์กร มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .94 .91 .81 และ.92 ตามลำดับ และการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .84 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ปัจจัยคัดสรรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับ ได้แก่ ด้านภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหาร ด้านวัฒนธรรมองค์กร ด้านลักษณะโครงสร้างองค์กร และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2) การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับ ได้แก่ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ การจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการเรียนรู้ การบริหารจัดการบุคลากร และการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย 3) ปัจจัยคัดสรรที่เกี่ยวข้องมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในระดับปานกลางถึงสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) ปัจจัยคัดสรรทุกปัจจัยส่งผลต่อการบริหารจัดการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยเรียงตามลำดับดังนี้ ด้านวัฒนธรรมองค์กร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านลักษณะโครงสร้างองค์กร และด้านภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร โดยมีอำนาจพยากรณ์ร้อยละ 65.1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก--ไทย--สตูล--การบริหารth_TH
dc.titleปัจจัยคัดสรรที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดสตูลตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติth_TH
dc.title.alternativeSelected factors affecting the management of child development centers under the Subdistrict Administrative Organizations in Satun Province in accordance with the Standards of the National Early Childhood Development Centeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the selected factors related to the management of child development centers; 2) the management of child development centers; 3) the relationship between selected factors related to the management and the management of child development centers ; and 4) the selected factors affecting the management of child development centers under the Subdistrict Administrative Organizations in Satun Province in accordance with the Standards of the National Early Childhood Development Center. The research sample consisted of 184 teachers and child caregivers in the child development centers under the Subdistrict Administrative Organizations in Satun Province, all of whom were obtained by the Taro Yamane's formula and stratified random sampling based on child development center size. The employed research instrument was questionnaire dealing with the selected factors related to the management of child development centers that were 4 factors, which are the organizational structure, the academic leadership of the administrators, the information technology and communication, and the organization culture, with reliability coefficients of .94 .91, .81, and .92, respectively, and management of child development center management with reliability coefficients of .84. The statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation coefficients, and stepwise multiple regression analysis. Research findings were as follows: 1) the overall and each factors of selected factors related to the management of child development centers were at the high level which were ranked by the academic leadership of the administrators, the organizational culture, the organizational structure, and the information technology and communication, respectively; 2) the overall and each aspect of the management of the child development centers were at the high level, which were ranked by the participation promotion of families and communities, the systematic management, the management to promote health and learning, the personnel management, and the safety environment management, respectively; 3) the selected factors were positively correlated with the management of child development centers at moderate to high levels at the .05 level statistically significant; and 4) the selected factors affecting the management of child development centers were the organizational culture,the information technology and communication, the organizational structure, and the academic leadership of administrators, respectively. These factors were significant predictors of the management of the child development centers in accordance with the Standards of the National Early Childhood Development Center and they could explain 65.1% of the variance (p = .05)en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons