กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13139
ชื่อเรื่อง: The Effect of Teaching Reading by Using Cooperative Learning with TGT Technique on English Reading Comprehension of Grade 7 Students at Chanumanwittayakom School in Amnat Charoen Province
ผลการสอนอ่านโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ที่มีต่อความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนชานุมานวิทยาคม จังหวัดอำนาจเจริญ
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: NIPHAWAN SAENKHUN
นิภาวรรณ์ แสนคูณ
Areerug Mejang
อารีรักษ์ มีแจ้ง
Sukhothai Thammathirat Open University
Areerug Mejang
อารีรักษ์ มีแจ้ง
[email protected]
[email protected]
คำสำคัญ: การสอนอ่านภาษาอังกฤษ  การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT  ความเข้าใจในการอ่าน  มัธยมศึกษา
Teaching English reading
Cooperative learning with TGT technique
Reading comprehension
Secondary education
วันที่เผยแพร่:  17
สำนักพิมพ์: Sukhothai Thammathirat Open University
บทคัดย่อ: The purpose of this study was to compare English reading comprehension of grade 7 students of Chanumanwittayakom School before and after learning by using  the cooperative learning  with TGT  technique.                   The research sample consisted of 36 grade 7 students studying in the second semester of the academic year 2023 at Chanumanwittayakom School, obtained by cluster random sampling. The research instruments were 1) learning management plans using the cooperative teaching with TGT technique, and  2) an English reading comprehension test. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test.The research finding revealed that the students’ post-learning English reading comprehension was higher than their pre-learning counterpart comprehension at the .05 level of statistical significance.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนชานุมานวิทยาคม ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT                 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนชานุมานวิทยาคม  ปีการศึกษา 2566 จำนวน 36 คน ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การสอนอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT  และ 2) แบบทดสอบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล  ได้แก่  ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และการทดสอบค่าที  ผลการวิจัยปรากฏว่า ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13139
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2632100752.pdf1.86 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น