Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1637
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิดดา ถาวร, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณทิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-27T05:44:39Z-
dc.date.available2022-09-27T05:44:39Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1637-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความทะเยอทะยานของนักเรียนวัยรุ่นกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (2) เปรียบเทียบความทะเยอทะยานของ นักเรียนวัยรุ่นกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวและของนักเรียนวัยรุ่นกลุ่มควบคุมที่ทํากิจกรรมแนะแนวแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์บ้านพักพิงอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา ที่มีอายุระหว่าง 13 - 18 ปี จํานวน 20 คน ที่ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง แล้วสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 10 คน เท่ากัน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความทะเยอทะยาน จํานวน 10 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมทํากิจกรรมแนะแนวแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่(1) แบบวัดความทะเยอทะยานซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .89 (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความทะเยอทะยาน และ (3) กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่ามัธยฐาน ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนวัยรุ่นกลุ่มทดลองมีความทะเยอทะยานสูงขึ้นภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความทะเยอทะยาน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) นักเรียนวัยรุ่นกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวมีความทะเยอทะยานมากกว่าของกลุ่มควบคุมที่ทํากิจกรรมแนะแนวแบบปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวัยรุ่น--พฤติกรรมth_TH
dc.subjectวัยรุ่น--ไทย-- พะเยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความทะเยอทะยานของนักเรียนวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์บ้านพักพิงอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยาth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package to enhance ambition of adolescents in Ban Phakphing Foster Home, Chiang Kham District, Phayao Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the levels of ambition of adolescent students in the experimental group before and after using a guidance activities package; and (2) to compare the ambition level of adolescent students in the experimental group who used the guidance activities package with the counterpart level of adolescent students in the control group who took normal guidance activities. The research sample consisted of 20 adolescent students, aged 13 - 18 years, at Ban Phakphing Foster Home, Chiang Kham District, Phayao Province, obtained by purposive sampling technique. Then, they were randomly divided into an experimental group and a control group, each of which containing 10 students. The experimental group students used a guidance activities package to enhance ambition for 10 sessions, with 50 minutes in each session; while the control group students took normal guidance activities. The employed research instruments were (1) an ambition assessment scale with reliability coefficient of .89; (2) a guidance activities package to enhance ambition; and (3) a set of normal guidance activities. Statistics for data analysis were the median, inter-quartile range, Wilcoxon Matched Pairs Signed Ranks Test, and Mann-Whitney U Test. Research findings revealed that (1) the post-experiment ambition level of adolescent students in the experimental group who used a guidance activities package to enhance ambition was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .01 level of statistical significance; and (2) the post-experiment ambition level of adolescent students in the experimental group who used the guidance activities package to enhance ambition was significantly higher than the counterpart level of adolescent students in the control group who took normal guidance activities at the .01 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159644.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons