กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4944
ชื่อเรื่อง: ผลการจัดกิจกรรมโดยใช้คำคล้องจองที่มีต่อความสามารถด้านการนับจำนวนของเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านหนองสองห้อง จังหวัดกาญจนบุรี
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The effects of activities using rhythmic words on number counting ability of preschool children at Ban Nong Song Hong School in Kanchanaburi Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: วัฒนา มัคคสมัน, อาจารย์ที่ปรึกษา
แสงเดือน คำเปียง, 2513-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน -- การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
ภาษาไทย -- คำสัมผัส -- กิจกรรมการเรียนการสอน
ภาษาไทย -- คำสัมผัส -- การศึกษาและการสอน
การศึกษาอิสระ -- หลักสูตรและการสอน
วันที่เผยแพร่: 2559
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการนับจำนวนของเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านหนองสองห้อง จังหวัดกาญจนบุรีก่อนและหลังการจัดกิจกรรมคำคล้องจอง กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง จังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 24 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดประสบการณ์ และแบบวัดความสามารถ ด้านการนับจานวน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฎว่า เด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านหนองสองห้อง หลังจากได้รับการจัดกิจกรรมคาคล้องจองมีความสามารถด้านการนับจำนวนสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4944
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext_154742.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.13 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons