Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6132
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมีนา แซ่ลิ้ม, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-23T08:46:38Z-
dc.date.available2023-05-23T08:46:38Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6132-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2555) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเมืองสมุทรปราการ 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ 2) ด้านการจัดการเรียนสอน และ 3) ด้านสถาบัน ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร 1 คน ครู 33 คน บุคลากร 4 คน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเมืองสมุทรปราการ และนักศึกษา 400 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครี่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินสมรรถนะนักศึกษา แบบสอบถามเกี่ยวกับหลักสูตร และแบบบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ ผลคะแนนการทดสอบระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะสําคัญของนักศึกษา ผ่านเกณฑ์การประเมิน และคุณธรรมของนักศึกษา ผ่านเกณฑ์การประเมิน 2) ด้านการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การจัดชั้นเรียนและตารางสอน เนื้อหาวิชา วิธีการสอน และสิ่งอำนวยความสะดวก ผลประเมินอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน แต่งบประมาณไม่ผา่นเกณฑ์การประเมิน และ 3) ด้านสถาบัน ได้แก่ คุณลักษณะ และพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา การจัดการเรียนการสอนของครู และการส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนของผู้บริหารอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน แต่การสนับ สนุนการเรียนของผู้ปกครอง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสมุทรปราการth_TH
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียน--หลักสูตร--การประเมินth_TH
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียน--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--สมุทรปราการth_TH
dc.titleการประเมินหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2555) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeAn evaluation of the lower secondary level of Non-formal and Informal Basic Education Curriculum, B.E. 2551 (Revised Edition B.E.2555) of Mueang District Non-formal and Informal Education Center, Samut Prakan Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.118-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to evaluate the lower secondary level of Non-Formal and Informal Basic Education Curriculum, B.E. 2551, (Revised B.E. 2555) of Mueang District Non-Formal and Informal Education Center, Samut Prakan province, in three aspects: (1) the learning behavior aspect, (2) the instructional management aspect, and (3) the institution aspect. The informants were 1 administrator, 33 teachers, 4 personnel from Mueang District Non-Formal and Informal Education Center, Samut Prakan province, and 400 students obtained by stratified random sampling. The employed research instruments were a student competency assessment scale, a questionnaire on the curriculum, and a data recording form. Data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The findings were as follows: (1) regarding the learning behavior aspect, it was found that evaluation result for the cognitive domain was below the passing criteria, while evaluation results for the affective and psychomotor domain passed the criteria at the good level; (2) regarding the instructional management aspect, it was found that evaluation results for classroom arrangement, organization of course contents, instructional process, and facilities passed the criteria at the good level, while that for the budget did not pass the criteria; and (3) regarding the institution aspect, it was found that evaluation results for characteristics and learning behavior of the students, instructional management of the teachers, and the administrator’s promotion of instructional management activities passed the criteria at the good level, while the supports on student learning of the students’ families did not pass the evaluation criteria; also, when the relationships among the three aspects of the curriculum were considered, it was found that the evaluation results of the three aspects did not conform to each other and did not have any relationship.-
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_156753.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons