Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8211
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิริวรรณ ศรีพหล | th_TH |
dc.contributor.author | สุรจิตร ทีบัว, 2497- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-26T03:21:47Z | - |
dc.date.available | 2023-07-26T03:21:47Z | - |
dc.date.issued | 2538 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8211 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2538. | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเภทของแหล่งชุมชน ลักษณะการใช้ แหล่งชุมชน ประโยชน์จากแหล่งชุมชน ปัญหาแนวโน้ม ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ การใช้แหล่งชุมชนประกอบการสอนวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในสังกัดกรม สามัญศึกษา ของจังหวัดขอนแก่น ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ อาจารย์ผู้สอนวิชาสังคม ศึกษา จำนวน 176 คน ผลการวิจัย พบว่า ประเภทของแหล่งชุมชนที่ใช้มากโดยส่วนใหญ่ คือ ประเภท- บุคลากรได้แก่ พระสงฆ์ นักบวช ชี ประเภทสถานที่ ได้แก่ ห้องสมุด ทั้งที่เป็นของทางราชการ และของเอกชน ประเภทเอกสารสิ่งพิมพ์ส่วนใหญ่ใช้เอกสารเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ส่วนประเพณี และความเชื่อ ส่วนมากจะใช้ฮีต 12 เดือน และผูกเสี่ยว ประเภทที่มีการใช้เป็นส่วนน้อย คือ แหล่งโบราณสถาน โบราณวัตถุ และความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องผีและไสยศาสตร์ ลักษณะการใช้ พบว่า ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน ส่วน เวลาที่ใช้ คือ เวลาเรียน กิจกรรมก่อนใช้แหล่งชุมชนส่วนมากแบ่งกลุ่ม กำหนดหน้าที่ความรับผิด ชอบ และกิจกรรมปฏิบัติหลังใช้แหล่งชุมชน คือ การให้นักเรียนเขียนรายงานและสรุปร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรค ในการไปศึกษานอกสถานที่ ครูและนักเรียนขาดการวางแผน และ เตรียมตัว การติดต่อวิทยากรมาบรรยายมีปัญหาเรื่องไม่ทราบแหล่งวิทยากร การติดต่อวิทยากรยุ่ง ยากเกินไป วิทยากรบรรยายไม่ตรงกับเนื้อหาที่กำหนดให้ ไม่มีชั่วโมงพิเศษสำหรับวิทยากรและผู้ บริหารไม่ให้การสนับสนุน การสำรวจชุมชน อยู่ห่างไกลชุมชนมากเกินไป สภาพภูมิประเทศไม่เอื้ออำนวย ส่วนการสัมภาษณ์บุคลากร ขาดแคลนบุคลากรที่เป็นแบบอย่างที่ดี ขาดแคลนวัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณในการดำเนินการ ความต้องการและข้อคิดเห็น ครูส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการใช้แหล่งชุมชนประกอบการสอนและเห็นว่าแหล่งชุมชนจะช่วยให้ผู้เรียนได้รับเนื้อหาและประสบการณ์ตรงมากยิ่งขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สังคมศึกษา--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | ชุมชน | th_TH |
dc.title | การศึกษาสภาพการใช้แหล่งชุมชน ประกอบการสอนวิชาสังคมศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกรมสามัญศึกษา ของจังหวัดขอนแก่น | th_TH |
dc.title.alternative | Study on the utilization of community resources for social studies instruction at lower secondary level | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to determine the extent that teachers were able to utilize community resources in teaching social studies in the lower secondary schools under the Department of General Education, Khon Kaen Province. The research also probed into problems and recommendations of such utilization as revealed by 176 secondary school teachers. It was found and categorized that the most often used personnel resources were monks and nuns while the most frequently visited learning facilities were the libraries, both public and private. As for printed materials, most teachers made use of printed matters on history, tradition and beliefs, particularly about the beliefs and practices in 12 months of the Northeasterners ofThailand as well as their "friendship binding ceremony". On the contrary, ancient remains, ancient ruins, and superstitious beliefs were less utilized. In the most sucessful learning activities, students were assigned to participate in the local events in small groups. Each group was assigned certain jobs and responsibilities. At the end students wrote reports and presented them to the class. There were a number of problems in the whole process. These included : inadequate planning for field trips, not knowing who local experts were, difficulties in contacting and inviting them, guest speakers did not speak on the topic asked for, lack of budget and support from the administration, inconveniences in surveying the target places because of distances and geographical difficulties, lack of ideal models for interview as well as facilities. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมจิตร วัฒนคุลัง | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สมพันธ์ เตชะอธิก | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_48442.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License