Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8720
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรลักษณ์ เจียมพิจิตรกุล, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T04:03:06Z-
dc.date.available2023-08-10T04:03:06Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8720-
dc.description.abstractการวิจัยนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความต้องการของครูอาชีวศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาที่มีต่อการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย (2) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อ แบบจำลองการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย สำหรับครูอาชีวศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ (3) นำเสนอแบบจำลองการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย สำหรับครูอาชีวศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ (1) ครูวิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช จำนวน 102 คน และ (2) ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย คือ (1) แบบสอบถามความต้องการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายของครู (2) แบบระดมความเห็นในการสนทนากลุ่ม (3) ต้นแบบชิ้นงาน และ (4) แบบประเมินและรับรองต้นแบบชิ้นงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อย ละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า (1) ความต้องการของครูที่มีต่อการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก (2) ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นต่อแบบจำลองการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายว่าเป็นการฝึกอบรมโดยเรียนรู้ด้วย ตนเอง เป็นการอบรมแบบเผชิญหน้าและออนไลน์ โดยมีสัดส่วน 20 : 80 และมีการออกแบบการฝึกอบรมผ่านระบบ อินเทอร์เน็ตครอบคลุม 3 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบด้านปัจจัยนำเข้า ครอบคลุม 1) วัตถุประสงค์ของการ ฝึกอบรม 2) คุณลักษณะของผู้เข้ารับการฝึกอบรม 3) ผู้ดำเนินการฝึกอบรม (วิทยากร) 4) เจ้าหน้าที่ฝึกอบรมผ่าน เครือข่าย 5) สื่อประกอบการฝึกอบรม 6) วิธีปฏิสัมพันธ์ผ่านเครือข่าย 7) แนวทางการจัดกิจกรรมฝึกอบรม 8) กิจกรรมที่เหมาะสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ 9) สภาพแวดล้อม/เทคโนโลยีสนับสนุน องค์ประกอบด้าน กระบวนการ ครอบคลุม 1) ลักษณะของการจัดฝึกอบรมผ่านเครือข่าย 2) ระยะเวลาการจัดฝึกอบรมผ่านเครือข่าย 3) การดำเนินการก่อนการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย 4) การดำเนินการระหว่างการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย และ 5) การดำเนินการหลังการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย และองค์ประกอบด้านผลลัพธ์ ครอบคลุม 1) ผลลัพธ์ของผู้เข้า ฝึกอบรมผ่านเครือข่าย 2) การประเมินแบบจำลองการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย และ 3) การปรับปรุงแบบจำลองการ ฝึกอบรมผ่านเครือข่าย ขั้นตอนการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายแบ่งเป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นปฐมนิเทศ ขั้นนำเข้าสู่การ ฝึกอบรม ขั้นดำเนินการและประกอบกิจกรรมการฝึกอบรม ขั้นสรุป และขั้นประเมินผลการฝึกอบรม และ (3) แบบจำลองการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายที่นำเสนอได้รับการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษาว่ามีความเหมาะสมในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.427en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectครู -- การฝึกอบรมth_TH
dc.titleแบบจำลองการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายสำหรับครูอาชีวศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาth_TH
dc.title.alternativeModel of training via network for Vocational Education Teachers under the Office of the Vocational Education Commissionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the needs of vocational education teachers under the Office of the Vocational Education Commissioner for training via network; (2) to study opinions of the experts toward a model of training via network for vocational education teachers under the Office of the Vocational Education Commission; and (3) to propose a model of training via network for vocational education teachers under the Office of the Vocational Education Commission. The research sample consisted of (1) 102 teachers of Nakhon Si Thammarat Vocational Education College, and (2) eight experts on educational technology and communications. The employed research instruments were (1) a questionnaire on the needs for training via network of the teachers; (2) a form for brainstorming of opinions in the focus group discussion; (3) a prototype model; and (4) a model assessment and certifying form. Statistics used for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings revealed that (1) the overall need of the vocational education teachers for training via network was at the high level; (2) the experts had opinions that the model of training via network was a model for self-learning, with the ratio of face-to-face and on-line training being 20:80, and with the training design via the Internet that covered three components: the input component that included 1) the training objectives, 2) characteristics of the trainees, 3) the training operators (resource persons), 4) the personnel for training via network, 5) training media, 6) the interaction methods via network, 7) guidelines for organizing training activities, 8) appropriate activities for exchange of learning, and 9) the supporting technology and environment; the process component that included 1) features of training via network, 2) time interval of training via network, 3) activities before the training via network, 4) activities during the training via network, and activities after the training via network; and the output component that included 1) output for the trainees via network, 2) evaluation results of the model of training via network, and 3) the improvement of the model of training via network; the operation of the training via network comprised five steps, namely, the orientation step, the training induction step, the operation of training activities step, the conclusion step, and the training evaluation step; (3) the proposed model of training via network was evaluated by the educational technology and communications experts as being highly appropriateen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140925.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons