Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8993
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิระสุข สุขสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorวรรณพัชร ชูทอง, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T01:52:18Z-
dc.date.available2023-08-22T01:52:18Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8993en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลการพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านเตง (เรือนจุลประชาสรรค์) จังหวัดพัทลุง ในกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวด้วยเทคนิคตัวแบบ (2) เปรียบเทียบผลการพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนดังกล่าวในกลุ่มทดลอง ระยะหลังการทดลองกับระยะติดตามผล และ (3) เปรียบเทียบผลการพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนดังกล่าวในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ระยะหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 62 คนของโรงเรียนบ้านเตง (เรือนจุลประชาสรรค์) จังหวัดพัทลุง ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย ต่อจากนั้นแบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายโดยใช้วิธีการจับฉลาก คือ กลุ่มทดลอง จำนวน 31 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 31 คน ในกลุ่มทดลองผู้วิจัยใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวด้วยเทคนิคตัวแบบเพื่อพัฒนาจิตสาธารณะ จำนวน 8 ครั้ง ส่วนในกลุ่มควบคุมผู้วิจัยใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวปกติ จำนวน 8 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ชุดกิจกรรรมแนะแนวด้วยเทคนิคตัวแบบเพื่อพัฒนาจิตสาธารณะ (2) ชุดกิจกรรรมแนะแนวปกติเพื่อพัฒนาจิตสาธารณะ และ (3) แบบวัดจิตสาธารณะที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนบ้านเตง (เรือนจุลประชาสรรค์) ในกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมจิตสาธารณะสูงกว่าพฤติกรรมดังกล่าวก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวด้วยเทคนิคตัวแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมจิตสาธารณะไม่แตกต่างกับพฤติกรรมดังกล่าวในระยะติดตามผล และ (3) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวด้วยเทคนิคตัวแบบมีพฤติกรรมจิตสาธารณะสูงกว่าพฤติกรรมดังกล่าวของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับชุดกิจกรรมแนะแนวปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา-- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectจิตสาธารณะth_TH
dc.subjectกิจกรรมของนักเรียน--ไทยth_TH
dc.subjectการแนะแนว--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--พัทลุงth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวด้วยเทคนิคตัวแบบ เพื่อพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนบ้านเตง (เรือนจุลประชาสรรค์) จังหวัดพัทลุงth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package based on modeling technique to develop public-mindedness of lower secondary students at Ban Teng (Rueanchoon Prachasan) School in Phatthalung Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the effects of developing public-mindedness of lower secondary students of Ban Teng (Rueanchoon Prachasan) School, Phatthalung province, in the experimental group before and after using a guidance activities package based on modeling technique; (2) to compare the effects of developing public-mindedness of the students in the experimental group at the end of the experiment and during the follow up period; (3) to compare the post-experiment effects of developing public-mindedness of the students in the experimental group and control group. The research sample consisted of 62 randomly selected lower secondary students studying in the second semester of the 2015 academic year at Ban Teng (Rueanchoon Prachasan) School, Phatthalung province. Then they were randomly assigned into an experimental group and a control group, each of which consisting of 31 students. In the experimental group, the researcher used a guidance activities package based on modeling technique comprising eight activities to develop public-mindedness of the students; while in the control group, the researcher used a set of eight traditional guidance activities for the same purpose. The employed research instruments comprised (1) a guidance activities package based on modeling technique to develop public-mindedness; (2) a set of eight traditional guidance activities to develop public-mindedness; and (3) a scale to assess public-mindedness, developed by the researcher, with reliability coefficient of .92. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The results showed that (1) after the experiment, the post-experiment public-mindedness level of lower secondary students at Ban Teng (Rueanchoon Prachasan) School, who used the a guidance activities package based on modeling technique to develop public-mindedness, was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .05 level; (2) the public-mindedness levels of the experimental group students at the end of the experiment and during the follow up period were not significantly different; and (3) the post-experiment public-mindedness behavior level of the experimental group students who used the guidance activities package based on modeling technique to develop public-mindedness was significantly higher than the post-experiment counterpart level of the control group students who used traditional guidance activities at the .05 level.en_US
dc.contributor.coadvisorลัดดาวรรณ ณ ระนองth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153710.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons