Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9598
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ชลลดา จารุภา, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T04:37:45Z | - |
dc.date.available | 2023-09-18T04:37:45Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9598 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการสร้างและตกแต่งตัวอักษรด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดเขาวัง (แสง ช่วงสุวนิช) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 41 คน โดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการสอนแบบ อิงประสบการณ์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การสร้างและตกแต่งตัวอักษรด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 หน่วยประสบการณ์ คือ หน่วยประสบการณ์ที่ 11 การสร้างตัวอักษรแบบลายไม้ และแบบดอกไม้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (2) แบบทดสอบก่อนเผชิญประสบการณ์และหลังเผชิญประสบการณ์ แบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อคุณภาพของชุด การสอนแบบอิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ที่ผลิตขึ้นมีประสิทธิภาพ £1/£2 เท่ากับ 81.30 / 80.00 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อคุณภาพของชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ในระดับเหมาะสมมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การสร้างและตกแต่งตัวอักษรด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ | th_TH |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | การงานและอาชีพ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ราชบุรี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | th_TH |
dc.title | การพัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการสร้างและตกแต่งตัวอักษรด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Development of experience-based instructional packages in the career and technology learning area on creating and finishing alphabets with a computer program for Prathom Suksa VI students in Ratchaburi Primary Education Service Area 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to develop experience-based instructional packages in the Career and Technology Learning Area on Creating and Finishing Alphabets with a Computer Program for PrathomSuksa VI students based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of the students who learned from the experience-based instructional package; and (3) to study opinions of the students who learned from the experience-based instructional package. The research sample consisted of 41 PrathomSuksa VI students of WatKhao Wang (SaengChuangsuwanit) School in the first semester of the 2011 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised (1) experience-based instructional packages in the Career and Technology Learning Area on Creating and Finishing Alphabets with a Computer Program, consisting of one experience unit, namely, Unit 11: Creating Wood Design and Flower Design Alphabets with the Computer Program; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the quality of the experience-based instructional packages. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings showed that (1) the developed experience-based instructional packages were efficient at 81.30/80.00, thus meeting the 80/80 efficiency criterion; (2) students who learned from the experience-based instructional package achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the students had opinions that quality of the experience-based instructional packages were at the highly appropriate level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
129131.pdf | 25.83 MB | Adobe PDF | View/Open | |
abs.pdf | 334.46 kB | Adobe PDF | View/Open | |
app.pdf | 2.05 MB | Adobe PDF | View/Open | |
app_bib.pdf | 825.4 kB | Adobe PDF | View/Open | |
approvement (1).pdf | 371.2 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chap1.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open | |
chap2.pdf | 3.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
chap3.pdf | 2.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
chap4.pdf | 997.97 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chap5.pdf | 13.68 MB | Adobe PDF | View/Open | |
chap6.pdf | 975 kB | Adobe PDF | View/Open | |
content.pdf | 317 kB | Adobe PDF | View/Open | |
cover.pdf | 273.39 kB | Adobe PDF | View/Open | |
vita.pdf | 198 kB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License